Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2567 - Coggle Diagram
แผนปฏิบัติราชการกรุงเทพมหานคร
ประจำปี พ.ศ. 2567
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเชื่อมโยงเมืองที่มีความคล่องตัว
และระบบบริการสาธารณะแบบบูรณาการ
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 4.3 กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีรูปแบบการจัดการภูมิทัศน์เมืองอย่างยั่งยืน
KR 1 : พื้นที่เมืองได้รับการออกแบบทางกายภาพตามหลักการจัดภูมิทัศน์เมืองน่าอยู่ (เพิ่มขึ้นร้อยละ 10)
KR 2 : พื้นที่เมืองได้รับการพัฒนาหรือปรับปรุงทัศนียภาพ
อย่างมียุทธศาสตร์ สร้างการรับรู้ของเมืองและส่งเสริมอัตลักษณ์
(ไม่น้อยกว่า 6 พื้นที่)
Objective: การจัดการภูมิทัศน์ที่ดีส่งเสริมให้กรุงเทพมหานครถูกจัดอันดับเมืองน่าอยู่ในอันดับที่สูงขึ้น (จากปีฐาน พ.ศ.2566)
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 4.2 กรุงเทพมหานครมีชุมชนเมืองเป็นระบบตามลำดับความสำคัญและศักยภาพพื้นที่เป็นโครงข่ายเชื่อมโยงกันอย่างมีระบบ
KR 1 : เกิดศูนย์ชุมชนตามที่ได้ดำเนินการศึกษา (1 แห่ง)
KR 2 : ส่งเสริมการเชื่อมโยงชุมชนเมืองกับพื้นที่เขตกรุงเทพฯ ชั้นใน
และพื้นที่เขตกรุงเทพฯ ชั้นกลาง (อย่างน้อย 1 โครงข่าย)
Objective: มีพื้นที่ชุมชนเมืองที่ถูกกำหนดตามผังเมืองรวม กรุงเทพมหานครได้รับการพัฒนา ส่งเสริมทางเศรษฐกิจ สังคม
และคุณภาพชีวิต (อย่างน้อย 1 แห่ง)
KR 3 : ส่งเสริมและพัฒนาพื้นที่ระดับย่านและพื้นที่ที่มีศักยภาพในการเชื่อมโยงกับชุมชนเมือง (อย่างน้อย 1 ย่าน/พื้นที่)
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 4.1 เมืองกรุงเทพมหานครเติบโตอย่างมีระเบียบมีการใช้ประโยชน์ที่ดินและทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ
KR 1 : มีการดำเนินการโครงการสาธารณูปโภค
สาธารณูปการ ตลอดจนโครงสร้างพื้นฐานเมืองที่สอดคล้องกับผังเมืองรวมและการพัฒนาของเมือง (ร้อยละ 100)
KR 2 : ควบคุมและตรวจสอบการปฏิบัติการพัฒนาเมือง
ให้เป็นไปตามผังเมืองรวม โดยมีอัตราการละเมิดและทำผิดกฎหมายลดลง
(อย่างน้อยร้อยละ 10)
Objective: กรุงเทพมหานครมีผังเมืองรวมที่สอดคล้องต่อการเปลี่ยนแปลงทางสภาพเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนการใช้ชีวิตของประชาชน
KR 3 : ข้อมูลเมืองของกรุงเทพมหานครถูกนำมาใช้ในการวิเคราะห์เชิงพื้นที่เพื่อวางแผนงานโครงการ
จัดทำงบประมาณ และกำหนดทิศทางการพัฒนา
(ทุกโครงการที่ขอจัดสรรงบประมาณ ต้องนำข้อมูลเมืองไปใช้ในการวิเคราะห์)
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 4.4 กรุงเทพมหานครมีระบบขนส่งมวลชนทั่วถึง สะดวก ประหยัด การจราจรคล่องตัวและมีทางเลือก
KR 1 : ระบบขนส่งมวลชนครอบคลุมพื้นที่เมือง
(ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 ของเมือง)
KR 2 : ประชาชนมีทางเลือกในการชำระค่าโดยสารระบบขนส่งมวลชนภายใต้กรุงเทพมหานคร (มากกว่า 1 รูปแบบ)
Objective: ประชาชนมีทางเลือกในการเดินทางที่หลากหลาย ครอบคลุม และมีคุณภาพ การเปลี่ยนรูปแบบการเดินทางต้องไร้รอยต่อและราคาประหยัด
KR 3 : ระยะเวลาการเดินทางเฉลี่ยของประชาชน
จากที่หมายแรกถึงระบบขนส่งมวลชนหลัก
(ลดน้อยลงกว่าปีฐาน พ.ศ.2566)
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาสิ่งแวดล้อมยั่งยืน และการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
KR 1 : สุขภาวะสิ่งแวดล้อมเมือง (Urban environmental health) เป็นไปตามมาตรฐานที่กฎหมายกำหนดและ
แนวปฏิบัติสากล (1. ติดตั้งระบบบำบัดน้ำเสียชุมชน (Onsite
treatment) ขนาดเล็กเพิ่มขึ้น 2 แห่ง 2. ปริมาณมูลฝอยได้รับ
การคัดแยกที่แหล่งกำเนิดและนำมาใช้ประโยชน์ไม่ น้อยกว่าร้อยละ 25
ระบบเฝ้าระวังและตรวจวัดคุณภาพอากาศแจ้งเตือนค่าฝุ่นละออง
ในบรรยากาศได้ไม่น้อยกว่า 3 วัน
KR 2 : ประชาชนเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานสีเขียวเมือง (Urban green infrastructure) ตามเกณฑ์แนะนำขององค์การอนามัยโลก
ที่กระจายตัวและสามารถเข้าถึงได้อย่างมีคุณภาพ (มีพื้นที่สาธารณะ สีเขียว ระยะทางไม่เกิน 800 เมตร หรือระยะการเดินไม่เกิน 15 นาทีจำนวน 2 แห่ง)
Objective: ประชาชนเข้าถึงสุขภาวะสิ่งแวดล้อมเมือง (Urban environmental health) ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานสิ่งแวดล้อมสากล และสามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศได้อย่างเท่าทัน
KR 3 : เสริมภูมิต้านทานและเพิ่มขีดความสามารถของกรุงเทพมหานครในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและหนุนเสริมการบรรลุความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon neutrality) ของเมือง (1. ยกระดับหน่วยงานยุทธศาสตร์ด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของกรุงเทพมหานครให้มีสถานะ “กอง” 2. ปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าและน้ำมันเชื้อเพลิงของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ 5)
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การสร้างเมืองปลอดภัยและหยุ่นตัวต่อวิกฤตการณ์
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 1.1 ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด
Objective: ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
จากเหตุอาชญากรรมและยาเสพติด (เก็บข้อมูลกระทบเป้า :
จำนวนคดีอาชญากรรมลดลง เทียบ 3 ปีเฉลี่ยก่อนหน้า)
KR 1 : สร้างความสามารถในการป้องกันอาชญากรรมและยาเสพติด
(ร้อยละ 100)
KR 2 : ลดความล่อแหลมของพื้นที่เสี่ยงอาชญากรรมและ
ยาเสพติด (50 สำนักงานเขต)
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 1.2 ปลอดอุบัติเหตุ
KR 1 : ระบบขนส่งมวลชนมีมาตรฐานความปลอดภัย
(ร้อยละ100 (ทุกระบบในความรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร))
KR 2 : กรุงเทพมหานครมีมาตรฐาน Road Safety Index
(4 ดาว(5 ดาว ภายในปี พ.ศ. 2569))
Objective: ประชาชนมีความปลอดภัยจากอุบัติเหตุ
KR 3 : ส่งเสริมพฤติกรรมเพื่อความปลอดภัย (จำนวนผู้กระทำความผิดลด ลงร้อยละ 10 จากปีฐาน (ปี พ.ศ. 2565))
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 1.3 ปลอดภัยพิบัติ
KR 2 : ปรับปรุงและสร้างสมรรถนะผู้ปฏิบัติงาน ทรัพยากร และระบบข้อมูลแผนที่เพื่อการบริหารจัดการสาธารณภัย (ครอบคลุมทุกประเภทสาธารณภัยเขตเมือง)
KR 3 : สร้างระบบชุมชนจัดการสาธารณภัย (Community Based Disaster Risk Management; CBDRM) บนฐานความร่วมมือทุกภาคส่วน (ครอบคลุมทุกชุมชน (2,017 ชุมชน))
KR 1 : เพิ่มความสามารถทางกายภาพในการบริหารจัดการภัยที่เกี่ยวกับน้ำ (อุทกภัย แล้ง กัดเซาะ) (ระดับการรับมือกับสาธารณภัยด้านน้ำเพิ่มขึ้นจากปีก่อน)
Objective: ลดความเสี่ยงจากสาธารณภัยเขตเมืองด้วยระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพบนฐานความเข้มแข็งของประชาชน และความร่วมมือทุกภาคส่วน
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 1.4 ปลอดอุบัติภัยจากสิ่งก่อสร้าง
KR : กรุงเทพมหานครมีข้อมูลอาคารเพื่อสนับสนุนการลดความเสี่ยงภัยพิบัติและส่งเสริมความปลอดภัยในการใช้อาคารอย่างมีประสิทธิภาพ
(ร้อยละ 100)
Objective: ประชาชนมีความปลอดภัยจากสิ่งก่อสร้างในพื้นที่กรุงเทพมหานคร และโครงสร้างพื้นฐานของกรุงเทพมหานครอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานความปลอดภัย
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 1.5 เมืองสุขภาพดี
KR 2 : เพิ่มพื้นที่และกิจกรรมเพื่อสุขภาพให้สอดคล้องกับประชาชนทุกช่วงวัย (7 แห่ง แต่ละแห่งจัดกิจกรรมไม่น้อยกว่า 12 กิจกรรม/ปี)
Objective2 : ประชาชนเข้าถึงการรักษาและฟื้นฟูด้วยระบบการบริการ ทางแพทย์และสาธารณสุขทุกระดับอย่างทั่วถึง
KR 1: เสริมสร้างภูมิคุ้มกันด้านสุขภาพให้กับประชาชน และชุมชน (ประชาชนทุกช่วงวัย มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ
เยาวชน ร้อยละ 30
วัยทำงาน ร้อยละ 40
ผู้สูงอายุ ร้อยละ 60)
KR 3 : เพิ่มศักยภาพการให้บริการทางการแพทย์และสาธารณสุขระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ (มีระบบส่งต่อผู้ป่วยที่เชื่อมโยงไร้รอยต่อ(Seamless)
ในทุกระดับ บริการด้านสาธารณสุขและการแพทย์ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร)
KR 4 : เพิ่มศักยภาพบริการการแพทย์ฉุกเฉินให้ครอบคลุมและสอดคล้องกับบริบทพื้นที่กรุงเทพมหานคร (เพิ่มจำนวน Commulance และ Motorlance ครอบคลุมในพื้นที่ 50 เขต)
KR 5 : ประชาชนได้รับการฟื้นฟูดูแลสุขภาพครบวงจรอย่างทั่วถึง สามารถกลับมาดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม (มีศูนย์สำหรับฟื้นฟูสุขภาพของผู้ป่วยในชุมชน 1 เขต มี 1 ศูนย์)
Objective1: ประชาชนได้รับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำคัญ ในเขตเมือง
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การต่อยอดความเป็นเมืองศูนย์กลางเศรษฐกิจสร้างสรรค์
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 6.2 เมืองแห่งการท่องเที่ยวระดับโลก
Objective: กรุงเทพมหานครเป็นเมืองแห่งการท่องเที่ยว
ที่มีมาตรฐานและมีความปลอดภัย
KR : กรุงเทพมหานครมีรายได้จากการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น
(ร้อยละ 3 ของรายได้จากปีที่ผ่านมา)
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 6.3 เมืองแห่งการจัดประชุมนิทรรศการ
Objective: กรุงเทพมหานครมีความพร้อมในการจัดประชุม นิทรรศการ การแสดงสินค้า และการท่องเที่ยวเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ
หรือให้รางวัลแก่พนักงาน (MICE)
KR : กรุงเทพมหานครได้รับการเลือกให้เป็นสถานที่สำหรับจัดการประชุม นิทรรศการ การแสดงสินค้าและการท่องเที่ยวเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ
หรือให้รางวัลแก่พนักงาน (MICE) เพิ่มขึ้น (อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปี)
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 6.1 เมืองแห่งโอกาสทางเศรษฐกิจและการลงทุน
KR 1 : ประชาชน ผู้ประกอบการหรือนักลงทุนเข้าถึงและ
ใช้ประโยชน์จากข้อมูลด้านธุรกิจและการลงทุนของกรุงเทพมหานคร
(ร้อยละ 20)
KR 2 : ผู้ประกอบการที่จดทะเบียนจัดตั้งธุรกิจในเขตพื้นที่ กรุงเทพมหานครเพิ่มขึ้น (ร้อยละ 5)
Objective: คนในกรุงเทพมหานครได้รับโอกาส
ทางเศรษฐกิจและการลงทุน
KR 3 : ผู้ประกอบการในพื้นที่กรุงเทพมหานครมีรายได้เพิ่มขึ้น
(ร้อยละ 20)
ยุทธศาสตร์ที่ 5 ส่งเสริมการสร้างเมืองประชาธิปไตย
แบบมีส่วนร่วม
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 5.2 พลเมืองขับเคลื่อนมหานคร
KR 1 : ประชาชนมีส่วนร่วม พัฒนาเมือง และตัดสินใจการดำเนินงานของหน่วยงาน ด้วยการเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดทำบริการหรือกิจกรรมสาธารณะในทุกรูปแบบ (ทุกกลุ่มเป้าหมายและทุกชุมชน)
KR 2 : สร้างระบบงบประมาณแบบมีส่วนร่วมที่ประชาชนสามารถ
มีส่วนร่วมในการวางแผน ตัดสินใจการใช้งบประมาณ
(กรุงเทพมหานครมีระบบงบประมาณแบบมีส่วนร่วม)
Objective: ประชาชนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนและพัฒนาเมือง
และสามารถตรวจสอบการทำงานของกรุงเทพมหานครได้
KR 3 : ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนผ่านงบประมาณแบบมีส่วนร่วม (2,017 ชุมชน)
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 5.3 การกระจายอำนาจ
KR 1 : กรุงเทพมหานครรับโอนภารกิจจากรัฐบาล
ในการให้บริการสาธารณะ (เพิ่มขึ้น 2 ภารกิจ)
KR 2 : กระจายภารกิจการจัดบริการสาธารณะที่เกี่ยวข้องกับประชาชน
ในพื้นที่โดยตรง จากสำนักไปยังสำนักงานเขต และหน่วยบริการในพื้นที่ (ร้อยละ 20 จากภารกิจที่ได้รับการแบ่งจากสำนักไปยังสำนักงานเขต)
Objective: กรุงเทพมหานครมีความพร้อมในการรับโอนภารกิจจากรัฐบาลในการให้บริการสาธารณะตามที่กฎหมายกำหนด และกระจายภารกิจ บางส่วนไปยังสำนักงานเขต และเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 5.1 มหานครกรุงเทพแบบบูรณาการ
KR 1 : พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือในการให้บริการสาธารณะ
(เพิ่มเครือข่ายความร่วมมือ)
KR 2 : พัฒนาระบบหรือกลไกในการจัดการกับข้อร้องเรียน
(มีระบบบหรือกลไกจัดการข้อร้องเรียนอย่างน้อย 1 ระบบ)
Objective: กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่บริหารจัดการแบบร่วมมือกัน (COLLABORATIVE GOVERNANCE) เพื่อสร้างความร่วมมือในการทํางานของทุกภาคส่วน เเละเปิดโอกาสให้ “ทุกคน” เข้ามามีส่วนร่วมกับการพัฒนาเมือง
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 5.4 เมืองสีขาว
KR 1 : กรุงเทพมหานคร มีกลไกการร้องเรียน ตรวจสอบ และแก้ไขเรื่องการทุจริตที่เข้าถึงง่าย สะดวก รวดเร็วมีประสิทธิภาพ และไม่ซ้ำซ้อน
(- ระยะเวลาในการรับเรื่องและส่งต่อเรื่องร้องเรียนเกี่ยวกับการทุจริต
ลดลงจากค่าเฉลี่ย(ปีฐาน พ.ศ.2566) - ประชาชนมีความพึงพอใจเกี่ยวกับการบริการเรื่องร้องเรียน เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 )
KR 2 : มีระบบการดำเนินการทางวินัยที่เกี่ยวข้องกับการทุจริตคอร์รัปชั่น
ที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีกลไกป้องกันการทุจริตคอร์รัปชั่นในอนาคต
(- กรณีความผิดวินัยไม่ร้ายแรง ลดลง 1 ใน 3 จากฐานของปีที่ผ่านมา
-กรณีความผิดวินัยร้ายแรง ลดลง (ปีฐาน พ.ศ.2566))
Objective: กรุงเทพมหานครเป็นมหานครเปิด (open government) ด้วยการเปิดเผยข้อมูล เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมและสามารถ
ตรวจสอบการทำงาน เพื่อป้องกันการทุจริตคอร์รัปชั่น
และสร้างมหานครที่เป็นของ “ทุกคน”
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การลดความเหลื่อมล้ำด้วยการบริหารเมืองรูปแบบอารยะสำหรับทุกคน
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 3.3 ประชาชนเข้าถึงที่อยู่อาศัย
ที่เหมาะสมได้ตามศักยภาพ
KR 1 : สำรวจและจัดทำฐานข้อมูลด้านที่อยู่อาศัยในกรุงเทพมหานครครอบคลุมทุกมิติ (1 ฐานข้อมูล)
KR 2 : พัฒนาศักยภาพองค์กรด้านการพัฒนาที่อยู่อาศัย ของกรุงเทพมหานคร (1 องค์กร)
Objective: การพัฒนาที่อยู่อาศัยของกรุงเทพมหานครมีองค์กรที่มีศักยภาพเพียงพอ สำหรับการตัดสินใจเชิงยุทธศาสตร์
KR 3 : สนับสนุนการจัดหา ปรับปรุง และพัฒนาที่อยู่อาศัยในกรุงเทพมหานคร (ตามแผนงานที่กำหนด)
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 3.5 เมืองแห่งพหุวัฒนธรรม
KR 1 : จำนวนผลงานวัฒนธรรมที่เป็นการยกระดับคุณภาพชีวิต
สร้างทุนทางสังคม รวมทั้งสร้างมูลค่าเพิ่มวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ (ไม่น้อยกว่า 3 ผลงาน)
KR 2 : จำนวนผู้มาเข้าร่วมกิจกรรมของกลุ่มวัฒนธรรมต่าง ๆ (10,000 คน)
Objective: กรุงเทพมหานครเป็นพื้นที่ที่ดำรงอยู่ของวัฒนธรรม
อันหลากหลายอย่างเท่าเทียมและมีบทบาทในการสร้างสรรค์สังคมคุณภาพ
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 3.2 เมืองแห่งโอกาสทางเศรษฐกิจ
KR 2 : พัฒนาโรงเรียนฝึกอาชีพและศูนย์ฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร
ให้ตอบโจทย์ตลาดแรงงานยุคปัจจุบัน (โรงเรียนฝึกอาชีพ10 แห่ง
ศูนย์ฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร 16 แห่ง)
KR 3 : ส่งเสริมการเข้าถึงแหล่งเงินทุนเพื่อการประกอบอาชีพ (15,000 คน)
KR 1 : สนับสนุนส่งเสริมแรงงานนอกระบบให้มีรายได้เพิ่มขึ้น (20,000 คน)
Objective2 : ส่งเสริมให้ประชาชนมีความมั่นคง ทางรายได้ และป้องกันไม่ให้กลายเป็นคนยากจนเมื่อเจอสถานการณ์เปราะบางทางเศรษฐกิจ
Objective1 : ผู้ที่อยู่ในกำลังแรงงานได้รับการส่งเสริมให้เข้าถึงโอกาส การประกอบอาชีพและสร้างรายได้
KR 4 : ส่งเสริมให้ประชาชนได้รับความคุ้มครองทางสังคม เศรษฐกิจ และสุขภาพขั้นพื้นฐาน (ร้อยละ 30)
KR 5 : ประชาชนในชุมชนได้รับการสนับสนุนให้เกิดการรวมกลุ่มด้านเศรษฐกิจชุมชน (21 กลุ่ม)
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 3.4 การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต
KR 3 : พัฒนาบุคลากรและสถานศึกษาให้รองรับผู้เรียน
ที่มีความต้องการพิเศษ (ร้อยละ 30)
KR 4 : เด็กในกรุงเทพมหานครได้ผลลัพธ์จากการเรียนรู้ และมีพัฒนาการการเรียนรู้ที่สูงขึ้น (Competency base) (ร้อยละ 100)
KR 2 : มีการคัดกรองเด็กที่มีความเสี่ยงหลุดออกนอกระบบและส่งเสริม
ให้เข้าถึงการศึกษา (ร้อยละ 100)
KR 1 : เด็ก และเยาวชนในกรุงเทพมหานครได้เข้าถึงการศึกษาภาคบังคับ (ร้อยละ 70)
KR 5 : พัฒนาการจัดการการศึกษาและแหล่งเรียนรู้ ทั้งในเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ (ร้อยละ 80)
Objective: คนกรุงเทพฯ เข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้ที่เหมาะสม
และเท่าทันโลก และตามความสนใจ
KR 6 : ข้าราชการ และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียน และแหล่งเรียนรู้สังกัดกรุงเทพมหานคร* ได้รับการสนับสนุนให้จัดการเรียนรู้ได้อย่างเต็มที่และมีประสิทธิภาพมากขึ้น (ร้อยละ 100)
KR 7 : มีการคุ้มครองสิทธิเด็ก และความปลอดภัยของนักเรียนในโรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร (ร้อยละ 100)
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 3.1 ลดความเหลื่อมล้ำ และสร้างโอกาสให้ประชาชนกลุ่มเปราะบาง
KR 2 : ประชาชนกลุ่มเปราะบางได้รับการสนับสนุนให้มีอาชีพและสามารถเลี้ยงดูตัวเองได้ (ร้อยละ 100)
KR 3: ปรับปรุงระบบสาธารณูปโภค และโครงสร้างพื้นฐานให้เหมาะสมสำหรับกลุ่มเปราะบางทุกกลุ่ม (ตามแผนงานที่กำหนด)
KR 1 : ประชาชนกลุ่มเปราะบางเข้าถึงและได้รับสวัสดิการตามความจำเป็นและความเหมาะสม (ร้อยละ 100)
KR 4: มีมาตรการในการลดความรุนแรงในครอบครัว (1 มาตรการในแต่ละกลุ่ม)
Objective: ประชาชนกลุ่มเปราะบางได้รับการดูแลอย่างครบวงจร
ยุทธศาสตร์ที่ 7 การสร้างความเป็นมืออาชีพ
ในการบริหารจัดการมหานคร
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 7.3 การบริหารทรัพยากรบุคคล
KR 1 : ปรับปรุงการบริหารจัดการกำลังคนให้มีความคล่องตัว
เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง (ร้อยละความพึงพอใจของหน่วยงานที่ได้รับการปรับปรุงโครงสร้างและภารกิจ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80)
KR 2 : บูรณาการระบบการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลที่มีความยืดหยุ่น คล่องตัว และส่งเสริมให้เกิดความเป็นมืออาชีพ และมีคุณธรรม (ระบบ HIIS(Human Resource Innovation and Information System))
Objective: กรุงเทพมหานครมีการบริหารกำลังคนที่เหมาะสม
และมีระบบการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลที่มีประสิทธิภาพ
ส่งผลให้บุคลากรมีความเป็นมืออาชีพในการปฏิบัติงาน
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 7.4 การคลังและงบประมาณ
KR 1 : รักษาวินัยในการจัดหารายได้ การบริหารสินทรัพย์
การจัดทำงบประมาณ การใช้จ่ายงบประมาณ และการบริหารหนี้ ให้มีประสิทธิภาพ และดำเนินการตามกรอบความยั่งยืน
ทางการคลังอย่างเคร่งครัด (ร้อยละ 100)
KR 2 : ขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองด้วยการบริหารงบประมาณเชิงรุก
(มีแผนการบริหารงบประมาณเชิงรุก)
Objective: กรุงเทพมหานครสามารถรักษาวินัยทางการเงินการคลัง
ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว พร้อมทั้งมีการบริหารงบประมาณเชิงรุก
ที่สามารถขับเคลื่อนการพัฒนาเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผล
KR 3 : พัฒนาระบบบริหารจัดการให้มีความคล่องตัว โปร่งใส
ตรวจสอบได้และมีประสิทธิภาพ (โครงการ/กิจกรรมได้รับการตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบประจำปี ร้อยละ 100)
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 7.2 การบริหารและประเมินผลแผน
KR 1 : เพิ่มประสิทธิภาพการขับเคลื่อนภารกิจของกรุงเทพมหานคร
ให้สอดคล้องในแต่ละประเด็นหรือพื้นที่ (ร้อยละ 100 ของ OKRs)
KR 2 : ยกระดับระบบการบริหารจัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร
ที่สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลการดำเนินตามยุทธศาสตร์และนโยบายของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครได้อย่างครบถ้วน
(1 ระบบ)
Objective: กรุงเทพมหานครสามารถขับเคลื่อนแผนอย่างบูรณาการ
และยกระดับระบบการบริหารจัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร
ที่มีประสิทธิภาพ
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 7.5 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม
KR 1 : พัฒนาระบบบริการสาธารณะที่สะดวก เข้าถึงง่าย
ในรูปแบบออนไลน์ เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนและภาคธุรกิจ พร้อมทั้งสามารถเข้าถึงข้อมูล และตรวจสอบการดำเนินงาน
ของกรุงเทพมหานครได้อย่างเปิดเผย
(ประชาชนมีความพึงพอใจต่อการให้บริการร้อยละ 80)
KR 2 : เปลี่ยนสู่ระบบดิจิทัลภาครัฐ
เพื่อบริหารงานยืดหยุ่น คล่องตัว และคลอบคลุมทุกหน่วยงานบริการของกรุงเทพมหานคร (อย่างน้อย 10 ภารกิจ)
Objective: กรุงเทพมหานครมีการยกระดับสู่ดิจิทัลภาครัฐ เพื่อบริหารงานยืดหยุ่น คล่องตัว และครอบคลุมทุกหน่วยงานบริการของกรุงเทพมหานคร
ยุทธศาสตร์ย่อยที่ 7.1 กฎหมาย
KR 1 : ทบทวนและจัดทำข้อเสนอร่างแก้ไขกฎหมายกฎ ระเบียบของกรุงเทมพมหานครให้ทันสมัยสามารถบังคับใช้ได้ (9 ด้าน)
KR 2 : พัฒนาคลังความรู้และคำปรึกษาด้านกฎหมาย
(Knowledge Stock) (1 ระบบ)
Objective: กรุงเทพมหานครมีกฎหมาย กฎ ระเบียบ
ที่สามารถรองรับภารกิจที่เปลี่ยนแปลงได้ และสามารถให้ข้อมูล คำปรึกษาด้านกฎหมายแก่หน่วยงานภายในได้อย่างมีประสิทธิภาพ