Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
15.การวิจัยและพัฒนาเพื่อการบริหารการสื่อสาร ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร…
15.การวิจัยและพัฒนาเพื่อการบริหารการสื่อสาร
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
15.1ความสำคัญ และแนวคิดของการวิจัยและพัฒนาเพื่อบริหารการสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความสำคัญของการวิจัยและพัฒนา
การวิจัย (research) เป็นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ทำการศึกษาค้นคว้าหาความจริงหรือการพิสูจน์เพื่อหาคำตอบหรือข้อเท็จจริงบางประการที่ผู้วิจัยสนใจต้องการหาคำตอบนั้น
การวิจัยและพัฒนา หมายถึง
กระบวนการวิจัยที่เป็นการวิจัยประยุกต์ที่ด าเนินการค้นคว้าพัฒนา “ผลผลิต (product) หรือนวัตกรรม(innovation)” และท าการทดลองหรือประเมินผล เพื่อปรับปรุงให้ผลผลิตหรือนวัตกรรมนั้น มีคุณภาพสามารถ
น าไปใช้แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ขั้นตอนการวิจัยและพัฒนา
วิเคราะห์ความต้องการ/การวางแผนหรือออกแบบ/การวางแผนหรือออกแบบ/การทดสอบประสิทธิภาพ/ปรับปรุงเบื้องต้น/การทดลองในพื้นที่น าร่อง/การพัฒนาขั้นสุดท้าย/การเผยแพร่และส่งเสริม/นประเมินและปรับปรุงต่อเนื่อง/
ความสำคัญของการวิจัยและพัฒนาการบริหารการสื่อสาร
เสริมสร้างและพัฒนาวงการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ส่งเสริมให้มีการใช้กระบวนการวิจัยในการพัฒนารูปแบบและเทคนิคการถ่ายทอดการสื่อสาร
สนับสนุนให้มีการตรวจสอบประสิทธิภาพทางด้านการเกษตร
แนวคิดของการวิจัยและพัฒนาเพื่อการบริหารการสื่อสารในงานส่งเสริมและพัฒนาการ
เกษตร
เป้าหมายของการวิจัยและพัฒนาการบริหารการสื่อสาร
เพื่อนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาในกระบวนการบริหารการสื่อสาร/เพื่อสร้างผลผลิตที่เป็นรูปธรรมและสามารถน าไปใช้ประโยชน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ/
แนวคิดการสื่อสารในการส่งเสริมการเกษตร
นักส่งเสริม/ความรู้ข่าวสาร/สื่อ/ช่องทาง/การรับรู้/เกษตรกร/สิ่งรบกวน/ประเมิณผล/การจัดการความรู้และการแลกเปลี่ยนเรียนร
รูปแบบของการวิจัยและพัฒนาทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
งานวิจัยเพื่อแก้ปัญหาเฉพาะหน้า/งานวิจัยเพื่อเตรียมรองรับปัญหาในระยะปานกลางถึงระยะยาว/งานวิจัยและพัฒนาซึ่งน าไปสู่การสร้างผลิตภัณฑ์และนวัตกรรม/งานวิจัยเพื่อขยายผลการวิจัย
ขั่นตอนการวิจัยและพัฒนาการบริหารการสื่อสาร
ขั้นตอนการวิจัย
การกำหนดวัตถุประสงค/ การวางแผนหรือออกแบบ/การเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล/
ขั้นตอนการพัฒนา
การพัฒนาต้นแบบ/ทดลองหรือทดสอบผลิตภัณฑ์/ั้นตอนการเผยแพร่และส่งเสริม
15.2 การวิจัยและพัฒนาบุคลากรเพื่อการสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การวิจัยและพัฒนาผู้ส่งสารเพื่อการสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ผู้ส่งสารโดยความหมายทั่วไป หมายถึง บุคคลที่เป็นผู้เริ่มต้นการสื่อสาร
การสื่อสารคือกระบวนการถ่ายทอดข่าวสารจากผู้ส่งไปยังผู้รับ
การสื่อสารคือการสร้างความเข้าใจร่วมกันระหว่างคู่การสื่อสาร
การสื่อสารเป็นอำนาจชนิดหนึ่งที่ผู้ส่งสารกระทำต่อผู้รับสาร
ความสำคัญของผู้ส่งสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ด้านกระวนการ/ด้านสาร/ด้านสื่อ/ด้านการปรับเปลี่ยนการสื่อสาร
บทบาทของผู้ส่งสารในการสื่อสาร
้ถ่ายทอดข่าวสาร ข้อมูล และความคิดเห็น/บทบาทการสร้างความเข้าใจร่วมกัน/บทบาทการการจูงใจ
ปัจจัยที่มีผลต่อผู้ส่งสาร
ปัจจัยด้านความรู้และทักษะด้านการสื่อสาร/ปัจจัยด้านจิตวิทยาของผู้ส่งสาร/ปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรม/ัจจัยด้านเศรษฐกิจ/ปัจจัยด้านนโยบาย
แนวทางการวิจัยและพัฒนาผู้ส่งสารในการสื่อสาร
การวิจัยคุณลักษณะของผู้ส่งสาร/การวิจัยด้านบทบาทของผู้ส่งสารในการสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร /การวิจัยด้านปัจจัยที่มีผลต่อผู้ส่งสารในการสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การวิจัยและพัฒนาผู้รับสารเพื่อการสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ผู้รับสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร หมายถึง บุคคล กลุ่มบุคคล หรือมวลชน ที่มีการทำหรือสนใจทางด้านการเกษตร เป็นเป้าหมายหลักของการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร โดยเป็นผู้รับสาร ผ่านช่องทาง
ต่างๆ ที่ส่งมาจากผู้ส่งสาร
ความสำคัญของผู้รับสาร
เป็นเป้าหมายหลักของการสื่อสาร/การรับรู้ต่อความหมายของสาร/การแสดงปฏิกริยาตอบสนองต่อผู้ส่งสาร
ปัจจัยที่มีผลต่อผู้รับสารในการสื่อสาร
ทักษะและความรู้ด้านการสื่อสาร/ปัจจัยด้านจิตวิทยาของผู้รับสาร/ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ/ปัจจัยด้านการเมือง/ปัจจัยด้านสังคม-วัฒนธรรม
แนวทางการวิจัยและพัฒนาผู้รับสารในการสื่อสาร
การวิจัยคุณลักษณะของผู้รับสาร/การวิจัยตามคุณลักษณะด้านจิตวิทยา/การวิจัยความคิดเห็นของผู้รับสาร/การวิจัยด้านปัจจัยที่มีผลต่อผู้รับสารในการสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
15.3 การวิจัยและพัฒนาความรู้และช่องทางเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การวิจัยและพัฒนาด้านความรู้เพื่อการสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร หมายถึง ข้อเท็จจริงอันเป็นที่รับรู้และเป็นที่ยอมรับในด้านการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรี่ได้จากการผ่านระบบการคิด การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และประยุกต์ ทั้ง
จากประสบการณ์และกระบวนการเรียนรู้ ซึ่งอาจเป็นความรู้ที่ฝังในตัวคนหรือความรู้ชัดแจ้งก็ได
ประเภทของความรู้
ความรู้ในด้านการเกษตร/ความรู้ในสาขาอื่นๆ ที่ทำให้เกิดการพัฒนาด้านการเกษตร
ลักษณะของความรู้ที่ดี
ความถูกต้อง/ความทันสมัย ทันต่อการใช้งาน/ความตรงประเด็น ตรงกับความต้องการ/ความสมบูรณ์ครบถ้วน/ความเชื่อถือได้/ง่ายต่อการนำไปใช้/
แนวคิดการวิจัยด้านการจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1กำหนดเรื่องหรือประเด็นการจัดการความรู้2.ประเด็นการสร้างและแสวงหาความรู้ 3.ประเด็นการส่งเสริมการแลกเปลี่ยนกิจกรรมเรียนรู้4.ประเด็นส่งเสริมให้เกิดชุมชนแนวปฏิบัติ5.ประเด็นการจัดความรู้ให้เป็นระบบ6.ประเด็นการเข้าถึงความรู้7.ประเด็นการสร้างรูปแบบการเรียนรู้
การเรียนรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเรียนรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรหมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงเชิงพฤติกรรม
(behavior) ที่ค่อนข้างถาวรของตัวบุคคล ที่เกิดจากการได้รับความรู้การฝึกฝนเสริมทักษะ การสร้างความเข้าใจการปรับทัศนคติ
องค์ประกอบ-แรงขับ/สิ่งเร้า/การตอบสนอง/การเสริมแรง
แนวทางการวิจัยและพัฒนาความรู้ในการสื่อสาร
การวิจัยคุณลักษณะของความรู้ทางการเกษตร/การวิจัยเพื่อพัฒนาความรู้ในด้านการเกษตรและสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง/การวิจัยความคิดเห็นของผู้รับสารเกี่ยวกับความรู้/การวิจัยด้านกระบวนการจัดการความรู้และการเรียนร
การวิจัยและพัฒนาด้านช่องทางการสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ช่องทางการสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร จึงหมายถึง ตัวกลางหรือเส้นทางของการถ่ายทอดความรู้ไปสู่
ผู้รับสาร
ความสำคัญของช่องทางการสื่อสาร
ช่องทางการสื่อสารเป็นตัวกลางในการถ่ายทอดหรือบอกกล่าวเกี่ยวกับความรู้หรือข้อมูลข่าวสารทางด้านการเกษตรเพื่อให้ผู้รับสารซึ่งส่วนใหญ่เป็นเกษตรกรได้รับทราบ
ช่องทางการสื่อสารเป็นตัวกลางในการถ่ายทอดความรู้ให้ผู้รับสารหรือกลุ่มเป้าหมายมีความเข้าใจในความรู้ ข้อมูลข่าวสารทางการเกษตรที่ถูกต้อง
่องทางการสื่อสารเป็นตัวกลางในการแพร่กระจายความรู้หรือข้อมูลข่าวสารไปยังผู้รับสารได้อย่างกว้างขวางและรวดเร็ว
ประเภทของช่องทางการสื่อสาร
ช่องทางการสื่อสารที่พิจารณาจากผู้ส่งสาร
ช่องการสื่อสารที่พิจารณาจากจำนวนผู้รับสาร
แบบรายบุคคล/แบบกลุ่ม/แบบมวลชน
ช่องทางการสื่อสารที่พิจารณาจากสื่อที่ใช้ในการส่งเสริม
ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์/สื่อภาพและเสียง/สื่อออนไลน์
ช่องทางการสื่อสารที่พิจารณาจากความร้
ช่องทางการสื่อสารที่พิจารณาจากชุมชนที่ผู้รับสารอาศัยอยู่
แนวทางการวิจัยและพัฒนาช่องทางในการสื่อสาร
การวิจัยคุณลักษณะของช่องทางหรือสื่อที่เหมาะสม/การวิจัยความคิดเห็นเกี่ยวกับช่องทางในการส่งเสริม/การวิจัยด้านปัจจัยเกี่ยวกับช่องทางหรือสื่อที่มีผลต่อการรับรู้ของผู้รับสาร/การวิจัยด้านกระบวนการผลิตสื่อหรือการสร้างช่องทางใหม่ในการสื่อสาร