Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ, A6480079นางสาวจิราภา บัวหอม - Coggle Diagram
ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ
แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model : HBM
องค์ประกอบของแบบจำลองความเชื่อด้านสุขภาพ
1)การรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค
3)การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับและค่าใช้จ่าย
2)การรับรู้ความรุนแรงของโรค
5)ปัจจัยร่วม
4)แรงจูงใจด้านสุขภาพ
การรับรู้ของบุคคลเป็นตัวบ่งชี้พฤติกรรม >>
บุคคลจะกระทำหรือเข้าใกล้กับสิ่งที่ตนเองพอใจและจะหนีห่างสิ่งที่ตนไม่ปรารถนา
ปัจจัยร่วม (Modifying Factors)
เป็นปัจจัยที่ไม่มีผลโดยตรงต่อพฤติกรรมสุขภาพแต่เป็นปัจจัยพื้นฐานที่จะส่งผลไปถึงการรับรู้
ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม
(Social Support Theory)
บุคคลได้รับการช่วยเหลือจากการปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในสังคม
แหล่งที่มาของการสนับสนุนทางสังคม
3.ระบบสนับสนุนด้านศาสนาหรือแหล่งอุปถัมภ์ต่างๆ
4.ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพด้านสุขภาพ
2.ระบบสนับสนุนจากกลุ่มเพื่อน
5.ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพอื่นๆ
1.ระบบการสนับสนุนตามธรรมชาติ
ประเภทของการสนับสนุนทางสังคม
การสนับสนุนด้านการประเมิน (Appraisal support)
การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร (Information support)
การสนับสนุนด้านอารมณ์ (Emotional support)
การสนับสนุนด้านการเงิน แรงงานและสิ่งของ (Instrumental support)
ทำให้ผู้ที่ได้รับการสนับสนุนทางสังคมมีความรู้สึกผูกพัน เชื่อว่ามีคนรักและสนใจมีคนยกย่องและมองเห็นคุณค่ารู้สึกแหล่งที่มาของการสนับสนุนทางสังคม ว่าตนเองเป็นส่วนหนึ่งของสังคม
ทฤษฎี(Theory)
เป็นกลุ่มของแนวคิดหรือมโนทัศน์ (Concepts)
เป็นองค์ประกอบหลักที่มีอยู่ในทฤษฎีประกอบกันเป็นคำอธิบายคาดการณ์ถึงปรากฏการต่างๆในทฤษฎี
แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพ
(Health Promotion Model : HPM)
การส่งเสริมสุขภาพในแต่ละบุคคลนั้นมีเหตุผลแตกต่างกันพยาบาลควรแนะนำ วิธีการที่เหมาะสมสำหรับแต่ละบุคคลส่งเสริมให้เห็นความสำคัญของสุขภาพ
ความสำคัญของตนเอง
เสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาอุปสรรคใน
การปฏิบัติการส่งเสริม สุขภาพสนับสนุน
ให้กระทำกิจกรรมนั้นอย่างสม่ำเสมอและยาวนาน
การสร้างเสริมพลังอำนาจ (Empowerment)
การเกิดโรคภัยไข้เจ็บหรือปัญหาด้านสุขภาพองค์รวม
ที่ร้ายแรง ที่อาจจะเกิดตามมาจากการใช้ชีวิต
กลไกที่ถือได้ว่าเป็นหัวใจของแนวทำงซึ่งหมายถึง“สร้าง” นำ “ซ่อม”
การให้ความสำคัญกับกำรสร้างความแข็งแกร่งทางด้านสุขภาพองค์รวม
คำนึงถึงผลกระทบต่อสุขภาพของตนเอง
ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
Trans theoretical Model Stage of Change : TTM
หลักกระบวนการช่วยเปลี่ยนแปลง
Process of Change
การปลดปล่อยตนเอง (self liberation)
คือการพยายามใฟ้มีทางเลือกในการเปลี่ยนแปลงงานวิจัยบ่งชี้ว่าถ้าคนเรามีทางเลือกสองทางยกตัวอย่างการให้ทาง
เลือก เช่น จะเลิกสูบบุหรี่
การปลดปล่อยสังคม (social liberation) คืออาศัย
ความรู้สึกว่าเป็นการปลดปล่อยจากการถูกกดขี่เอาเปรียบเทียบทางสังคมมาเป็นตัวสร้างความมุ่งมั่นในการเปลี่ยน
พฤติกรรม
การใคร่ครวญผลต่อตนเอง (self reevaluation)
เช่นจิตนาการว่าถ้าเอาแต่นอนโซฟาดูทีวีภาพของตนเองต่อไปนี้จะเป็นอย่างไร ถ้าขยันขันแข็งออกกำลังกายทุกวัน
จะเป็นอย่างไร
ให้เรียนรู้สิ่งตรงกันข้าม (counterconditioning)
เช่นการให้เรียนรู้การสนองตอบแบบผ่อนคลายเพื่อแก้ปัญหาเครียด
การใคร่ครวญผลต่อสังคมรอบข้าง (social
reevaluation)เช่นนึกต่อไปว่าถ้าตนเองดื่มแอลกอฮอล์จัดอยู่ต่อไปลูกๆจะเป็นอย่างไร หรือ ผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่สนใจควบคุม
อาหารจนทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น ตาบอด
บังคับให้ทำสิ่งที่ดีกว่าทางอ้อม (stimulus control)
เช่น สร้างที่จอดรถให้ห่างที่ทำงานเพื่อบังคับให้ต้องเดิน
การระบายความรู้สึก (Dramatic relief)
เพื่อกระตุ้นหรือผลักดันจิตใจอารมณ์ให้เกิดความอยากเปลี่ยนแปลงเช่นการให้ลองเล่นเป็นคนอื่นดู
จงใจใช้แผนกระตุ้น (contingency management)
เช่น การตกรางวัลถ้าทำสิ่งที่ดีกว่าการชื่นชมผลงาน
กัลยาณมิตร (helping relationship) เช่น การเป็น
ที่ปรึกษาทางโทรศัพท์ให้การมีบัดดี้คอยสนับสนุน
1.การปลุกจิตสำนึก(consciousness raising)
เป็นการใช้วิธีการต่างๆบอกให้รู้ผลเสียของการไม่เปลี่ยนและผลดีของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
ประเด็นที่สำคัญในการใช้เทคนิควิธีการทั้ง10 ประเด็น
คือ การเลือกใช้ให้เหมาะกับระดับของกระบวนการเปลี่ยนแปลงว่าผู้รับบริการอยู่ในระดับ
ใด จะเห็นว่าเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับความรู้หรือปรับทัศนคติมักเหมาะกับผู้ที่อยู่ในระยะแรกๆ หรือผู้ที่
ยังไม่ตัดสินใจ ยังไม่วางแผนในขณะ ที่เทคนิคที่ช่วยให้พฤติกรรมใหม่คงไว้ มักเหมาะกับผู้ที่อยู่
ในระยะที่ต้องการให้พฤติกรรมมีความคงเส้นคงวาหรือต้องการให้เกิดความต่อเนื่อง
มีทั้งหมด 6 ขั้นตอน คือ
ขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ (Preparation stage / Determina
ขั้นปฏิบัติ (Action stage)
ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
ขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage)
ขั้นยุติพฤติกรรมเดิมอย่างถาวร (Termination)
PRECEDE-PROCEED Model
เป็นเครื่องมือสำคัญของนักสุขศึกษาที่นำมำ ประยุกต์ใช้วางแผนและประเมินผลโครงการส่งเสริมสุขภาพและสุขศึกษา
ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ทางสังคม (Phase1 : Social Assessment)
ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์ทางระบาดวิทยา (Phase 2 : Epidemiological Assessment)
ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์ด้านพฤติกรรม (Phase 3 : Behavioral Assessment)
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ทางการศึกษา (Phase 4 : Educational Assessment)
ขั้นตอนที่ 5 การวิเคราะห์ทางการบริหาร (Phase 5 : Administrative and Policy Assessment)
ขั้นตอนที่ 6 การปฏิบัติการ (Phase 6 : Implementation)
ขั้นตอนที่ 7 การประเมินกระบวนการ (Phase 7 : Process Evaluation)
ขั้นตอนที่ 9 การประเมินผลลัพธ์ (Phase 9 : Outcome Evaluation)
ขั้นตอนที่ 8 การประเมินผลกระทบ (Phase 8 : Impact Evaluation)
A6480079นางสาวจิราภา บัวหอม