Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2 ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ, A6480008 นางสาวจุฑามาศ ทุมสาร -…
บทที่2
ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ
แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ(Health Belief Model : HBM)
องค์ประกอบของแบบจาลองความเชื่อด้านสุขภาพ
การรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค
การรับรู้ความรุนแรงของโรค
การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับและค่าใช้จ่าย
แรงจูงใจด้านสุขภาพ
ปัจจัยร่วม >> ช่วยส่งเสริมหรือเป็นอุปสรรคต่อกราที่บุคคลจะปฏิบัติเพื่อกํารป้องกันโรค หรือการ ปฏิบัตติ ตามคําแนะนําในการรักษาโรค เช่น เพศ อายุ เชื้อชาติ ลักษณะของความยรกง่ายของกราปฏิบัติตาม เป็นต้น
การประยุกต์ใช้แบบจำลองความเชื่อด้านสุขภาพ
การรับความรุนแรงของโรค
การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับและค่าใช้จ่าย
การรับอุปสรรค
ปัจจัยการกระตุ้นการปฏิบัติ
ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม (Social Support Theory)
แหล่งที่มาของการสนับสนุนทางสังคม
ระบบการสนับสนุนตามธรรมชาติ
ระบบสนับสนุนจากกลุ่มเพื่อน
3.ระบบสนับสนนุด้านศาสนาหรอืแหล่ง อุปถัมภ์ต่างๆ
ระบบการสนับสนุนจากกลุ่วิชาชีพด้านสุขภาพ
➢ เป็นแหล่งกรานนับสนุนเป็นแห่งแรกที่ให้การช่วยเหลือผู้ป่วยเช่น แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่ สาธารณสุข
ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพอื่นๆ
➢ เป็นการสนับสนุนจํากกลุ่มบริการอาสามัคร
ประเภทของการสนับสนุนทางสังคม
การสนับสนุนด้านอารมณ์ (Emotional support) การใกล้ชิดสนิทสนม ได้แก่ พฤติกรรมซึ่ง แสดงออกด้วยกํารรับฟังอย่รงเป็นนใจ แสดงความยกย่อง แสดงให้เห็นถึงความเข้าใจรวมถึงกํารกระทํา กิจกรรมร่วมกัน
การสนับสนุนด้านการประเมิน (Appraisal support) ได้แก่ การได้รับข้อมูลย้อนกลับ กมาได้ รับคํารับรองซึ่งจะทําให้ผู้รับเกิดความพอใจ นําไปประเมินตนเอง และเปรียบเทียบตัวเองกับผู้อื่นในสังคมเดียวกัน
การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร : (Information support) เป็นกํารได้รับคําแนะนํา คําเตือน คําปรึกฟ้าที่สามาถนําไปแก้ไขปัญหาท่ีกําลังเผชิญอยู่ได
การสนับสนุนด้านการเงิน แรงงานและสิ่งของ (Instrumental support) ซึ่งเป็นพฤติกรรม การช่วยเหลือโดยตรงต่อความจําเป็นพื้นฐสน
ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม
➢แนวคิดนี้มีประโยชน์มํากในการมาสร้างเครือข่ยาเพื่อกราสร้างเสริมสุขภาพ และกํารดูแลรักษาโรคเรื้อรัง
➢กลุ่มผู้ติดเชื้อเอดส์
➢กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน
➢กลุ่มผู้สูงอายุ
➢กลุ่มส่งเสริมด้านสุขภาพพ เช่น กลุ่มแอร์โรบิค กลุ่มวิ่ง กลุ่มปั่นจักรยรน กลุ่มปฏิบัติธรรม
PRECEDE-PROCEED Model
ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ทางสังคม (Phase1 : Social Assessment)
ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์ทางระบาดวิทยา (Phase 2 : Epidemiological Assessment)
ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์ด้านพฤติกรรม (Phase 3 : Behavioral Assessment)
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะก็ทางการบริการ (Phase 4 : Educational Assessment)
ขั้นตอนที่ 5 การวิเคราะก็ทางการบริหาร (Phase 5 : Administrative and Policy Assessment)
ขั้นตอนที่ 6 การปฏิบัติการ (Phase 6 : Implementation)
ขั้นตอนที่ 7 การประเมินกระบวนการ (Phase 7 : Process Evaluation)
ขั้นตอนที่ 8 การประเมินผลกระทบ (Phase 8 : Impact Evaluation)
ขั้นตอนที่ 9 การประเมินผลลัพธ์ (Phase 9 : Outcome Evaluation)
การสร้างเสริมพลังอำนาจ (Empowerment)
กระบวนการเสริมสร้างพลังอำนาจ ทำให้บุคคลเปลี่ยนแปลง ดังนี้
1.สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง
เข้าถึงข้อมูลและแหล่งข้อมูลที่เอื้อในกํารตัดสินใจได้อย่างสม่ำเสมอ
มีทางเลือกอย่างกว้างขวาง
มีความสามารถในกราคิดเชิงรุกเพื่อประกอบในกํารตัดนใจ
มีความคิดทางบวกและความสามารถที่จะเปลี่ยนแปลง
มีความสามารถในทักษะกํารเรียนรู้ที่จะพัฒนาพลังอํานตาแห่งงตนและของกลุ่ม
มีความสามารถที่จะปรับเปลี่ยนกรารับรู้ของผู้อื่นโดยวิธีประชําธิปไตย
มีส่วนร่วมในกระบวนกสรการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงที่ไม่เคยสิ้นสุด และมีกํารเริ่มต้นอยู่เสมอ
เพิ่มอัตมโนทัศน์ทางบวกและสามารถเอาชนะจุดด้อยของตนได
10.เพิ่มความสามารถแห่งตนในกํารคิดอย่างมีเหตุผลเพื่อแยกแยะความถูกผิดได้
ประเภทของการสร้างเสริมพลังอานาจ
การสร้างเสริมพลังอำนาจเชิงจิตใจ (Psychological Empowerment)
การสร้างเสริมพลังอำนาจเชิงโครงสร้าง (Structural Empowerment)
แหล่งที่มาของอำนาจ
อํานาจที่เกิดจํากตําแหน่งหรือหน้าที่
อํานาจที่เกิดจากการควบคุมทรัพยากรต่าง
อํานสจที่เกิดจากความสัมพันธ์ทางสังคม
อํานาจที่เกิดจํากความเชี่ยวชาญ
อํานาจที่เกิดจากการมีข้อมูล
อํานจากจที่เกิดจนกคุณสมบัติ หรือบุคลิกลักษณะส่วนตัว
ขั้นตอนของการสร้างเสริมพลังอำนาจ
discovering reality การค้นพบความจริง
critical reflection การพิจารณาไตร่ตรอง สะท้อนคิดอย่างมีอย่างมีวิจารณญาณ
Taking charge ดําเนินกํารตัดสินใจเลือกวิธีการปฏิบัติที่เหมาะสม เรียนรู้ เรียกร้อง จัดการ ต่อรอง ปกป้องสิทธิ
holding มั่นใจที่จะควบคุมสถานการณ์ได้
ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
Trans theoretical Model Stage of Change : TTM
มีทั้งหมด 6 ขั้นตอน คือ
ขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage)
ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
ขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ (Preparation stage / Determina
ขั้นปฏิบัติ (Action stage)
ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
6.ขั้นยุติพฤติกรรมเดิมอย่างถาวร (Termination)
• หลักกระบวนการช่วยเปลี่ยนแปลง Process of Change
1.การปลุกจิตสำนึก(consciousness raising)
การระบายความรู้สึก (Dramatic relief)
การใคร่ครวญผลต่อสังคมรอบข้าง (social reevaluation)
การใคร่ครวญผลต่อตนเอง (self reevaluation)
การปลดปล่อยตนเอง (self liberation)
การปลดปล่อยสังคม (social liberation)
ให้เรียนรู้สิ่งตรงกันข้าม (counterconditioning)
บังคับให้ทำสิ่งที่ดีกว่าทางอ้อม (stimulus control)
จงใจใช้แผนกระตุ้น (contingency management)
กัลยาณมิตร (helping relationship)
A6480008 นางสาวจุฑามาศ ทุมสาร