Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2 ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ, A6480047 นางสาวปัญญาพร พันชนะ - Coggle…
บทที่2
ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ
ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม
บุคคลได้รับการช่วยเหลือจากการปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในสังคม ทั้งด้านอารมณ์ ด้านข้อมูล ข่าวสารและอื่นๆ
1)ระบบการสนับสนุนตามธรรมชาติ จากครอบครัว ญาติพี่น้องซึ่งถือว่ามีความสำคัญมากที่สุดต่อผู้ป่วยเพราะครอบครัวมีบทบาทสำคัญ
2)ระบบสนับสนุนจากกลุ่มเพื่อน ได้รับจากบุคคลซึ่งประสบการณ์ มีความชำนาญในการค้นคว้าหาความต้องการและสามารถติดต่อชักจูงผู้ป่วยได้ง่าย
3)ระบบสนับสนุนด้านศาสนาหรือแหล่งอุปถัมภ์ต่างๆ เป็นแหล่งที่จะช่วยให้ผู้ป่วยได้มีการแลกเปลี่ยนความเชื้อ
ค่านิยม คำสอน
4)ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพด้านสุขภาพ
เป็นแหล่งการสนับสนุนเป็นแห่งแรกที่ให้การช่วยเหลือผู้ป่วย
5)ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพอื่นๆ เป็นการสนับสนุนจากกลุ่มบริการอาสาสมัคร
แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ
การรับรู้ของบุคคลเป็นตัวบ่งชี้พฤติกรรมโดยบุคคลจะกระทําหรือเข้าใกล้กับสิ่งที่ตนพอใจ
การที่บุคคลใดจะมีพฤติกรรมหลีกเลี่ยง จากการเป็นโรค บุคคลนั้นจะต้องมีความเชื่อว่าเขามีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรค
ปัจจัยร่วม เป็นปัจจัยที่ไม่มีผลโดยตรงต่อพฤติกรรมสุขภาพ
ปัจจัยด้านประชากร : เพศ อายุ เชื้อชาติ ศาสนา
ปัจจัยด้านสังคมวิทยา : เช่น บุคลิกภาพ กลุ่มเพื่อน
ปัจจัยโครงสร้างพื้นฐาน : ระบบบริการสุขภาพ
การนำเอาแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพมาใช้ในการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมป้องกันโรค
PRECEDE-PROCEED Model
PROCEED เป็นคําย่อมาจากPolicy, Regulatory, and Organizational, Constructs, in Educational and Environmental, Development
นโยบาย กฏระเบียบ และโครงสร้างของในการพัฒนาการศึกษาและสิ่งแวดล้อม
PRECEDE – PROCEED Model เป็นเครื่องมือสำคัญของนักสุขศึกษาที่นํามา ประยุกต์ใช้วางแผน และประเมินผลโครงการส่งเสริมสุขภาพและสุขศึกษา
ขั้นตอนที่2 การวิเคราะห์ทางระบาดวิทยา (Phase 2 : Epidemiological Assessment)
เป็นการวิเคราะห์ว่ามีปัญหาสุขภาพที่สำคัญอะไรบ้าง
ขั้นตอนที่3 การวิเคราะห์ด้านพฤติกรรม (Phase 3 : Behavioral Assessment)
จากปัจจัยปัญหาด้านสุขภาพอนามัยที่ได้ในขั้นตอนที่1-2จะนำมาวิเคราะห์ต่อเพื่อหาสาเหตุที่เกี่ยวข้อง
ขั้นตอนที่4 การวิเคราะห์ทางการศึกษา (Phase 4 : Educational Assessment)
ระยะนี้เป็นการประเมินสาเหตุของพฤติกรรมสุภาพที่ระบุไว้ในระยะที่2
ขั้นตอนที่5 การวิเคราะห์ทางการบริหาร (Phase 5 : Administrative and Policy Assessment)
เป็นการประเมินความสามารถของการบริหาร
ขั้นตอนที่6 การปฏิบัติการ (Phase 6 : Implementation)
ดำเนินตามกลวิธี วิธีการและกิจกรรม
ขั้นตอนที่7 การประเมินกระบวนการ (Phase 7 : Process Evaluation)
เพื่อประเมินถึงปัจจัยด้านการบริหารจัดการ
ขั้นตอนที่9 การประเมินผลลัพธ์ (Phase 9 : Outcome Evaluation)
เป็นการประเมินผลรวบยอดของวัตถุประสงค์
ขั้นตที่1 การวิเคราะห์ทางสังคม (Phase1 : Social Assessment) เป็นพิจารณาและวิเคราะห์ คุณภาพชีวิต
ขั้นตอนที่8 การประเมินผลกระทบ (Phase 8 : Impact Evaluation)
การประเมินผลลัพธ์ที่เกิดจากการดำเนินโครงการ
แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพ
แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ มีพื้นฐานมาจากแนวคิดด้านการคิดรู้ ซึ่งประกอบด้วยความคาดหวังต่อผลลัพธ์ของการปฏิบัติพฤติกรรม (Outcome expectancies) จากทฤษฎีการให้คุณค่าการคาดหวังและความคาดหวังในความสามารถของตนเอง (Self-efficacy expectancies)
การส่งเสริมสุขภาพในแต่ละบุคคลนั้นมีเหตุผลแตกต่างกัน พยาบาลควรแนะนำวิธีการที่เหมาะสมสำหรับแต่ละบุคคล ส่งเสริมให้เห็นความสำคัญของสุขภาพ
การสร้างเสริมพลังอานาจ (Empowerment)
กระบวนการที่จะช่วยให้บุคคลตระหนักและค้นหาความสามารถและหรือความเข้มแข็งที่มีอยู่ในตนเองเพื่อช่วยให้บุคคลมีความมั่นใจในการดูแลตนเองให้มีสุขภาพดี
1)การสร้างเสริมพลังอานาจเชิงจิตใจ (Psychological Empowerment) เป็นกระบวนการเกี่ยวข้องกับการสร้างแรงจูงใจแก่บุคคลให้เกิดการรู้คิดใน4 คุณลักษณะ คือ
ความหมาย สมรรถนะ ตัดสินใจด้วยตัวเอง ผลกระทบ
2)การสร้างเสริมพลังอานาจเชิงโครงสร้าง (Structural Empowerment) เกี่ยวข้องกับเงื่อนไขและสภาพการทำงานในองค์กรที่ทำให้บุคคล หรือลูกจ้างได้รับพลังอำนาจและทำให้เกิดประสิทธิผลในการทำงานและองค์กรประสบความสำเร็จ
ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
Trans theoretical Model Stage of Change : TTM
1)ขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage) ยังไม่มีความสนใจที่จะเปลี่ยนพฤติกรรมในอีก6เดือนข้างหน้า
2)ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage) ตระหนักรู้ว่ามีปัญหาแต่ยังไม่คิดที่จะทำการปรับพฤติกรรม ไม่แน่ใจ ยังครุ่นคิดอยู่
5)ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance) สามารถคงไว้ซึ่งฟฤติกรรมใหม่อย่างสม่าเสมอได้นานมากกว่า 6 เดือน
3)ขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ (Preparation stage / Determination) เตรียมตัวเริ่มมีความพร้อมที่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในอีก 1 เดือนข้างหน้า
6)ขั้นยุติพฤติกรรมเดิมอย่างถาวร (Termination) ไม่มีอะไรมาเย้ายวนให้กลับไปทำพฤติกรรมเดิมได้อีก สามารถมั่นได้ 100%
4)ขั้นปฏิบัติ (Action stage) เชื่อมั่นในศักยภาพของตนเองว่าสามารถทำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้และกำลังกระทำการปรับเปลี่นรพฤติกรรม
A6480047 นางสาวปัญญาพร พันชนะ