Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคระบบเลือด - Coggle Diagram
โรคระบบเลือด
Anemia
สาเหตุ
การสร้างเม็ดเลือดแดงน้อยลงอาจเกิดจากการขาดสารอาหารท่ีจำเป็นใน การสรา้งเม็ดเลือดแดงเช่น ขาดธาตเหลักโฟเลตและวิตามนิบี12
-
-
การท่ีเม็ดเลือดแดงแตก หรือถูกทำลายไปเร็วกว่าปกติ เช่น โรคภูมิต้านทานทำลายเม็ดเลือแดงตนเอง โรคโลหิตจางกรรมพันธุ์บางชนิดเช่น โรคขาดG-6-PDของเม็ดเลือดแดงโรคธาลัสซีเมีย โรคโลหิตจางท่ีมีรูปร่างเม็ดเลือดแดงมีลักษณะทรงกลมหรือการติดเชื้อ เช่น มาลาเรีย
อาการและอาการแสดง
-
-
มีจุดและจ้ำเลือดตามตัวจากมีเกล็ดเลือดต่ำเป็นโรคไขกระดูกฝ่อ มะเร็งเม็ดเลือดขาวหรือโรคท่ีเกิดการทำลายทั้งเม็ดเลือดแดงและเกล็ดเลือด
-
-
-
-
-
-
การพยาบาล
- ผู้ป่วยมีต่อมน้ำเหลืองแห่งใดแห่งหนึ่งโตอย่าบีบ
คลึงก่อน แนะนำให้นอนท่าตะแคงเพื่อไม่ให้มดลูกกดทับเส้นเลือด
ดำใหญ่
2.แนะนำให้รับประทานอาหารที่มีคุณค่า ให้ครบ 5 หมู่ และ
รับประทานอาหารที่มี เหล็กและกรดโฟลิค ได้แก่ เนื้อสัตว์ ไข่ นม ตับ ผักใบเขียว ผลไม้
-
4.การมาฝากครรภ์ตามกำหนดนัด แนะนำให้หญิง ตั้ง
ครรภ์ตระหนักถึงความสำคัญที่จะต้องมารับการ ตรวจบ่อย กว่าคนอื่นๆเพื่อจะได้รับการประเมิน อาการของภาวะโลหิต
จางและประเมินโดยการ เจาะLAB
Leukemia
สาเหตุ
-
การรัยเคมีบพลัดเกิดจากการรักษาโรคมะเร็งชนิดอื่นๆด้วยตัวยาเคมี เนื่องจากยาเคมีบำบัดบางกลุ่มอาจเพิ่มความเสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวได้
-
-
-
-
อาการและอาการแสดง
-เหนื่อยง่าย ใจสั่น วิงเวียนศีรษะ
-เกร็ดเลือดลดลงทำให้มีภาวะเลือดออกง่ายกว่าปกติอาจพบจุดเลือดออก
หรือจ้ำเลือดตามตัวรวมถึงภาวะเลือดหยุดยาก
-เบื่ออาหารน้ำหนักลดคลำพบก้อนตามตัวหรือปวดกระดูกได้
การวินิจฉัย
การเจาะเลือดตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (COMPLETE BLOOD COUNT, CBC) อาจพบฮีโมโกลบินต่ำ เกล็ดเลือดต่ำ จพนวนเม็ดเลือดขาวสูง หรือต่ำกว่าปกติก็ได้และอาจพบเม็ดเลือดขาวตัวอ่อนได้
การเจาะไขกระดูก BONE MARROW เป็นการตรวจท่ีจำเป็นในการวินิจฉัยมะเร็งเม็ดเลือดขาวโดยแพทย์จะใช้เข็มดูดและตัดชิ้นเนื้อบริเวณหลัวกระดกูสะโพกหรือหลัง กระดูกเชิงกราน ระยะเวลาในการเจาะประมาณ10-15 นาที
การรักษา
Chemotherapy
เป็นการรักษาหลักสไฟรับมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลันโดยยาจะไปทำลายเซลล์มะเร็งท่ีแบางตัวอย่างรวดเร็วเพื่อให้ไขกระดกูสามารถสร้างเม็ดเลือดปกติขึ้นมาใหม่เคมีบพลัดมีทั้งชนิดกิน ฉีดเข้าหลอดเลือดดำและฉีดเข้าไขสันหลัง
Targeted therapy
เป็นยาท่ีออกฤทธิ์เฉพาะเจาะจงต่อเซลล์มะเร็งโดยไม่ทำลายเซลล์ปกติ เช่น ยาท่ีออกฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ไทโรซีนไคเนส(TYROSINE KINASEINHIBITOR)
Stem cell transplantation
นำเซลล์ต้นกำเนิดจากเลือดหรือไขกระดูกของตัวผู้ป่วยเอง ญาติพี่น้องหรือผู้บริจาคที่เข้ากันได้มาปลูกถ่ายให้ผู้ป่วยหลังจากได้รักษาจนโรคอยู่ในระยะสงบเพื่อลดโอกาสกลับมาซ้ำ
การพยาบาล
-
ดูแลและแนะนำให้รับประทานอาหารอ่อนย่อย ง่าย โปรตีนสูง มีสารอาหารครบ 5 หมู่ รับประทานครั้งละ น้อยๆ บ่อยๆ ครั้ง เน้นการรับประทานอาหารที่มีเชื้อ แบคทีเรียต่ำ (Low- bacterial diet) ได้แก่ อาหารท่ีถูกสุข อนามัยปรุงสุก ไม่รับประทานอาหารสุกๆ ดิบๆ ผักดิบ
ดูแลและแนะนำการป้องกัน การติดเชื้อโดยการทำความสะอาดของร่างกาย ช่องปาก และล้างมือบ่อยๆ มีการแยกผู้ป่วยจากผู้ป่วยโรคติดเชื้อ
-
-
-
Iymphoma
-
-
การรักษา
การเฝ้ติดตามโรค
มักใช้ในมะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดค่อยเป็นค่อยไปหรือในรายที่ผู้ป่วยมีอาการจากตัวโรคไม่มาก
Chemotherapy
ทกลายเซลล์มะเร็งโดยไปรบกวนกสรแบ่งตัวของเซลล์มะเร็งการเลือกชนิดของยาเคมีบพลัดนั้นจะขึ้นอยู่กับชนิดของมะเร็งต่อมน้ำเหลือง
MONOCLONAL ANTIBODIES
ยาโมโนโคลแอนติบอดี จะมีการกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย เพื่อมากำจัดเซลล์มะเร็ง
-
STEM CELL TRANSPLANTATION
หลักการของการรถกษาด้วยการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดคือการทำลายเซลล์มะเร็งให้หมดไปแล้วแทนท่ีด้วยเซลล์ที่ปกติ
สาเหตุ
-สารเคมี เช่น สารเคมีปราบศัตรูพืช น้ำยาย้อมผม
- ภูมิคุ้มกัน ผู้ที่มีภูมิคุ้มกันโรคลดลง เช่น โรคเอดส์ การปลูกถ่ายอวัยวะ โรคไขข้ออักเสบ
- พันธุกรรม การเกิดมะเร็งต่อมน้ำเหลืองนั้น มีความชัดเจนที่เกิดมาจากกรรมพันธุ์ทางครอบครัว เช่น พี่น้องอาจเป็นมะเร็งต่อมน้ำเหลืองตามลำดับ หรือเป็นพร้อมกัน
- การติดเชื้อไวรัสบางชนิด เช่น ไวรัส HIV, EBV
-
Thrombocytopenia
-
-
การวินิจฉัย
การซักประวัติผู้ป่วย ถึงสาเหตุที่อาจส่งผลให้เกิดภาวะเกล็ดเลือดต่ำได้ เช่น ประวัติการใช้ยา พฤติกรรมการรับประทานอาหาร โดยเฉพาะปริมาณการดื่มแอลกอฮอล์ ความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเอดส์ การให้เลือด ประวัติการมีเพศสัมพันธ์ การใช้ยาที่ฉีดเข้าร่างกาย การสัมผัสเลือดที่ติดเชื้อ หรือสารคัดหลั่งอื่น ๆ รวมถึงประวัติการเกิดภาวะเกล็ดเลือดต่ำของสมาชิกในครอบครัว
การตรวจร่างกาย เพื่อหาร่องรอยของอาการเลือดออก เช่น รอยช้ำหรือจุดแดงใต้ผิวหนัง ตรวจที่หน้าท้องว่ามีอาการของม้ามโตหรือไม่ หรือมีไข้ ซึ่งเป็นอาการของการติดเชื้อหรือไม่
การตรวจเลือด เพื่อนับจำนวนของเซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์เม็ดเลือดขาว และเกล็ดเลือด ในผู้ที่มีภาวะเกล็ดเลือดต่ำ จะมีจำนวนของเกล็ดเลือดต่ำกว่า 150,000 เกล็ดต่อไมโครลิตร ซึ่งการตรวจเลือดทำได้หลายวิธี เช่น การตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด การตรวจสเมียร์เลือด ดูรูปร่างลักษณะของเกล็ดเลือด รวมถึงการตรวจหาจำนวนของสารภูมิต้านทาน หรือแอนติบอดี้ เป็นโปรตีนที่ร่างกายผลิตออกมาเพื่อทำลายเกล็ดเลือด
การตรวจไขกระดูก เนื่องจากไขกระดูกเป็นอวัยวะที่ใช้ในการสร้างเกล็ดเลือด เพื่อหาสาเหตุว่าทำไมไขกระดูกจึงสร้างเกล็ดเลือดได้ไม่เพียงพอ ตรวจได้ 2 วิธีคือ การเจาะไขกระดูก (Aspiration) แล้วนำไปส่องกล้องเพื่อหาความผิดพลาดของเซลล์ หรือการตัดชิ้นเนื้อ (Biopsy) ซึ่งจะทำหลังการเจาะไขกระดูก ส่วนมากมักตรวจที่ไขกระดูกสะโพก เพื่อตรวจสอบจำนวนและชนิดของเซลล์
การตรวจอื่น ๆ เช่น การตรวจ Prothrombin time หรือการตรวจ Partial Thromboplastin Time เพื่อตรวจการแข็งตัวของเลือด หรือแพทย์อาจตรวจอัลตร้าซาวด์ เพื่อดูว่าม้ามมีการขยายตัวใหญ่ขึ้นหรือไม่
การรักษา
การรักษาด้วยการใช้ยา
-
-
ยา Eltrombopag หรือยา Romiplostim เป็นยาชนิดฉีดเข้าที่ใต้ผิวหนัง เพื่อช่วยกระตุ้นให้ร่างกายสร้างเกล็ดเลือด
-
-
-
Iron deficiency
สาเหตุ
ร่างกายต้องการธาตุเหล็กมากขึ้นเช่นหญิงตั้วครรภ์หรือเด็กทารกท่ีต้องใช้ในการเจรญิเติบโตและผู้ป่วยโรคไตท่ีได้รับการฉีดยากระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดแดง
ร่างกายสูญเสียธาตุเหล็กมากกว่าปกติจากภาวะเลือดออกเฉียบพลันและเรือรังพบบ่อยคือภาวะประจำเดือนมา
มากของผหู้ญิงวัยเจริญพันธุ์ ภาวะเลือดออกในทางเดินอาหาร ภาวะเสียเลือดหลังจากผ่าตัดและการบริจาคเลือดเป็นประจำและไม่ไก้รับประทานธาตุเหล็กทดแทน
ร่างกายดูดซึมธาตุเหล็กได้ลดลงจากการผ่าตัดกระเพาะอาหารหรือลำไส้ส่วนต้น ได้แก่GASTRECTOMY DUODENALBYPASSและBARIATRICSURGERYและจากโรคในทางเดินอาหาร ได้แก่ โรคลาฝำไส้อักเสบเรื้อรังโครหน์ (CROHN’SDISEASE)
รับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กไม่เพียงพอพบในผู้ป่วยรับประทานอาหารมังสวิรัติไม่รับประทานเนื้อสัตว์ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังท่ีไม่ยอมรบัประทานอาหารหรือรับประทานอาหารเองไม่ได้
-
การวินิจฉัย
-
เจาะเลือดดูความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC) พบความผิดปกติคือ ระดับฮีโมโกลบิน่ำลง เม็ดเลือดแดงขนาดเล็กและเกล็ดเลือดสูงขึ้นหรือตรวจดูสเมียรเ์ลือด พบเม็ดเลือดแดงขนาดเล็กและติดสีจาง
เจาะวัดค่าปริมาณสะสมของธาตุเหล็กในร่างกาย(FERRITIN)หากค่าต่ากว่า30ไมโครกรัมต่อลิตร ถือว่าผู้ป่วยมีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
การพยาบาล
-
-
ให้ได้รับยาตามแผนการรักษา (เหล็ก วิตามินซี ซึ่งจะมีผลข้าง
เคียง อาจมีคลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องผูก ถ่ายเหลว)
ดูแลให้รับประทานยาเพิ่มเหล็กพร้อมอาหารหรือหลัง
อาหารทันทีจะช่วย ลดการรบกวนกระเพาะอาหาร ไม่ควร รับประทานยาเพิ่มเหล็กพร้อมยา Tetracycline,
Methyldopa, Quinolone, Levodopa ยาลดกรด ไข่ นม กาแฟ เพราะยาเพิ่มเหล็กจะดูดซึมลดลง
-
-
-
หากเป็นเด็กควรให้กินนมแม่ เพราะธาตุเหล็กในนมแม่ดูด
ซึมได้ถึงร้อยละ 50 (นมผสมดูดซึมได้เพียงร้อยละ 20 ) โดยให้นมแม่ร่วมกับอาหารเสริม ตามวัยได้ถึงอายุ 2 ขวบ
และป้องกันไม่ให้เป็นโรค โลหิตจางจากขาดธาตุเหล็กอีก
-