Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ - Coggle Diagram
บทที่ 2 ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ
แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ (Health Belief Model : HBM)
ปัจจัยร่วม (Modifying Factors)
ปัจจัยด้านประชากร : เพศ อายุ เชื้อชาติ ศาสนา
ปัจจัยด้านสังคมจิตวิทยา : เช่น บุคลิกภาพ กลุ่มเพื่อน มีความเกี่ยวข้องกับบรรทัดฐานทางสังคม
ค่านิยมวัฒนธรรมซึ่งเป็นพื้นฐานทาใหเ้กิดการปฏิบัติเพื่อป้องกันโรคที่แตกต่างกัน
ปัจจัยโครงสร้างพื้นฐาน : ระบบบริการสุขภาพ
องค์ประกอบของแบบจำลองความเชื่อด้านสุขภาพ
การรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค
การรับรู้ความรุนแรงของโรค
การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับและค่าใช้จ่าย
แรงจูงใจด้านสุขภาพ
5.ปัจจัยร่วม
ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม (Social Support Theory)
แหล่งที่มาของการสนับสนุนทางสังคม
ระบบการสนับสนุนตามธรรมชาติ
ระบบสนับสนุนจากกลุ่มเพื่อน
3.ระบบสนับสนนุด้านศาสนาหรอืแหล่ง อุปถัมภ์ต่างๆ
ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพด้าน สุขภาพ
ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพอื่นๆ
ประเภทของการสนับสนุนทางสังคม
การสนับสนุนด้านอารมณ์ (Emotional support)
การสนับสนุนด้านการประเมิน (Appraisal support)
การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร (Information support)
การสนับสนุนด้านการเงิน แรงงานและส่ิงของ (Instrumental support)
ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม
แนวคิดนี้มีประโยชน์มากในการสร้างเครือข่ายเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ และการดูแลรักษาโรคเรื้อรัง
กลุ่มผู้ติดเชื้อเอดส์
กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มส่งเสริมสุขภาพ เช่น กลุ่มแอร์โรบิค กลุ่มววิ่ง กลุ่มปั่นจักรยาน กลุ่มปฏิบัติธรรม
PRECEDE-PROCEED Model
ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ทางสังคม (Phase1 : Social Assessment)
ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์ทางระบาดวิทยา (Phase 2 : Epidemiological Assessment)
ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์ด้านพฤติกรรม (Phase 3 : Behavioral Assessment)
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ทางการศึกษา (Phase 4 : Educational Assessment)
ปัจจัยนำ (Predisposing Factors)
ปัจจัยเอื้อ (Enabling Factors)
ปัจจัยเสริม (Reinforcing Factors)
ขั้นตอนที่ 5 การวิเคราะห์ทางการบริหาร (Phase 5 : Administrative and Policy Assessment)
ขั้นตอนที่ 6 การปฏิบัติการ (Phase 6 : Implementation)
ขั้นตอนที่ 7 การประเมินกระบวนการ (Phase 7 : Process Evaluation)
ขั้นตอนที่ 8 การประเมินผลกระทบ (Phase 8 : Impact Evaluation)
ขั้นตอนที่ 9 การประเมินผลลัพธ์ (Phase 9 : Outcome Evaluation)
แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion Model : HPM)
1.ลักษณะเฉพาะและประสบการณ์ของบคุคล(IndividualCharacteristicsandExperiences)
1.1 พฤติกรรมที่เกี่ยวข้อง (Prior related behavior)
1.2 ปัจจัยส่วนบุคคล (Personal Factors)
ปัจจัยด้านชีววิทยา
ปัจจัยด้านจิตวิทยา
ปัจจัยด้านสังคมวัฒนธรรม
ความคิดและอารมณ์ต่อพฤติกรรม (Behavior-Specific Cognition and Affect)
2.1 การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรม (Perceived Benefits of Action)
2.2 การรับรู้อุปสรรคในการปฏิบัติพฤติกรรม (Perceived Barriers to Action)
2.3 การรับรู้ความสามารถของตนเอง (PerceivedSelf-Ef ficacy)
2.4 ความรู้สึกที่มีต่อพฤติกรรม (Activity-Related Affect)
2.5 อิทธิพลระหว่างบุคคล (Interpersonal Influences)
2.6 อิทธิพลจากสถานการณ์ (Situational Influences)
พฤติกรรมผลลัพธ์ (Behavioral Outcome) ประกอบด้วย 3 อย่าง
3.1 ความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติพฤติกรรม (Commitment to a Plan of Actions)
3.2 ความจำเป็นอื่นและทางเลือกอื่นที่เกิดขึ้น (Immediate Competing Demands and Preferences)
3.3 พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ (Health-Promoting Behavior)
การสร้างเสริมพลังอำนาจ (Empowerment)
ประเภทของการสร้างเสริมพลังอำนาจ
การสร้างเสริมพลังอำนาจเชิงจิตใจ (Psychological Empowerment)
ความหมาย (Meaning)
สมรรถนะ (Competence)
ตัดสินใจด้วยตัวเอง (Self-determination)
ผลกระทบ (Impact)
การสร้างเสริมพลังอำนาจเชิงโครงสร้าง (Structural Empowerment)
ลักษณะของการสร้างเสริมพลังอำนาจ
การสร้างเสริมพลังอำนาจระดับบุคคลและระดับกลุ่ม
การสร้างเสริมพลังอํานาจภายในและภายนอก
ขั้นตอนของการสร้างเสริมพลังอำนาจ
discovering reality การค้นพบความจริง
critical reflection การพิจารณาไตร่ตรอง สะท้อนคิดอย่างมีวิจารณญาณ
Taking charge ดําเนินการตัดสินใจเลือกวิธีการปฏิบัติที่เหมาะสม เรียนรู้ เรียกร้อง จัดการ ต่อรอง ปกป้องสิทธิ
holding มั่นใจที่จะควบคุมสถานการณ์ได้
ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
Trans theoretical Model Stage of Change : TTM
มีทั้งหมด 6 ขั้นตอน คือ
ขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage)
ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
ขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ (Preparation stage / Determina
ขั้นปฏิบัติ (Action stage)
ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
ขั้นยุติพฤติกรรมเดิมอย่างถาวร (Termination)
หลักกระบวนการช่วยเปลี่ยนแปลง Process of Change
1.การปลุกจิตสานึก(consciousness raising)
เทคนิคนี้เหมาะสาหรับผู้ที่อยู่ในขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
การระบายความรู้สึก (Dramatic relief)
เทคนิคนี้เหมาะสาหรับผู้ที่อยู่ในขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
การใคร่ครวญผลต่อสังคมรอบข้าง (social reevaluation)
เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
การใคร่ครวญผลต่อตนเอง (self reevaluation)
เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นชั่งใจ (Contemplation stage) เพื่อ เลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ(Preparationstage /Determination)
การปลดปล่อยตนเอง (self liberation)
เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ (Preparation stage / Determination) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นปฏิบัติ (Action)
การปลดปล่อยสังคม (social liberation)
เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้น คงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
ให้เรียนรู้สิ่งตรงกันข้าม (counterconditioning)
เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
บังคับให้ทำสิ่งที่ดีกว่าทางอ้อม (stimulus control)
เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้น คงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
จงใจใช้แผนกระตุ้น (contingency management)
เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
กัลยาณมิตร (helping relationship)
เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)