Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ, A6480056 นางสาวนลินทิพย์ ยอดตา - Coggle…
ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ
Health Belief Model
แนวคิด
พฤติกรรมหลีกเลี่ยงโดยมีความเชื่อว่าเขามีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรค
การรับรู้ของบุคคลเป็นตัวบ่งชี้พฤติกรรมโดยบุคคลจะกระทําหรือเข้าใกล้กับสิ่งที่ตนพอใจ
Modifying Factors
ด้านประชากร
เพศ
อายุ
เชื้อชาติ
ด้านสังคมจิตวิทยา
บุคลิกภาพ
กลุ่มเพื่อน
โครงสร้างพื้นฐาน
ระบบบริการสุขภาพ
องค์ประกอบ
การรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค
ตนมีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคหรือปัญหสสุขภาพนั้นมากน้อยเพียงใด
การประยุกต์
ค่าใช้จ่ายความไม่สะดวกของบริการ
จัดสิ่งเเวดล้อมหรือการที่เอื้อต่อการปฏิบัติ
การรับรู้ความรุนแรงของโรค
การก่อให้เกิดพิการเสียชีวิต
ความยากลำบากและต้องใช้ระยะเวลานานในการรักษา
การประยุกต์
ให้ข้อมูลที่เป็นจริงเกี่ยวกับผลกระทบที่จะเกิดขึ้นไม่ควรขู่ให้กลัวจนเกินเหตุ
การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับและค่าใช้จ่าย
บุคคลแสวงหาวิธีการปฏิบัติให้หายจากโรคหรือป้องกันไม่ให้เกิดโรค
การประยุกต์
ร่วมกันกำหนดพฤติกรรมที่ควรปฏิบัติให้ชัดเจน
แรงจูงใจด้านสุขภาพ
ความปรารถนําที่จะดํารงรักษาสุขภาพและการหลีกเลี่ยงจากการเจ็บป่วย
ปัจจัยร่วม
ส่วนช่วยส่งเสริมหรือเป็นอุปสรรคต่อการที่บุคคลจะปฏิบัติเพื่อการป้องกันโรค
Social Support Theory
แหล่งที่มาของการสนับสนุนทางสังคม
ระบบการสนับสนุนตามธรรมชาติ
ระบบสนับสนุนจากกลุ่มเพื่อน
ระบบสนับสนนุด้านศาสนาหรอืแหล่งอุปถัมภ์ต่างๆ
ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพด้านสุขภาพ
ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพอื่นๆ
ประเภทของการสนับสนุนทางสังคม
Emotional support
Appraisal support
Information support
Instrumental support
PRECEDE-PROCEED Model
Social Assessment
เพื่อค้นหาข้อมูลและประเมินปัญหาด้านสังคมที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิต (Quality of Life: QOL) ของประชากรเป้าหมาย
Epidemiological Assessment
ช่วยให้สามารถจัดเรียงลําดับความสําคัญของปัญหาเพื่อประโยชย์ในการวางแผนการดําเนินงานสุขศึกษาได้อย่างเหมาะสมต่อไป
Behavioral Assessment
สาเหตุอันเนื่องมาจากพฤติกรรมของบุคคล
สาเหตุที่ไม่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรม
Educational Assessment
การประเมินสาเหตุของพฤติกรรมสุขภาพ
Predisposing Factors
ปัจจัยที่เป็นพื้นฐาน
ความรู้
ความเชื่อ
ค่านิยม
Enabling Factors
คุณลักษณะของสิ่งเเวดล้อม ทั้งด้านกายภาพและสังคมวัฒนธรรม
Reinforcing Factors
สิ่งที่บุคคลจะได้รับหรือคาดว่าจะได้รับจากบุคคลอื่น
Health Promotion Model
มโนทัศน์
ndividual Characteristics and Experiences
Prior related behavior
Personal Factors
ปัจจัยด้านชีววิทยา
ปัจจัยด้านจิตวิทยา
ปัจจัยด้านสังคมวัฒนธรรม
Behavior-Specific Cognition and Affect
Perceived Benefits of Action
Perceived Barriers to Action
PerceivedSelf-Ef ficacy
Activity-Related Affect
Interpersonal Influences
Behavioral Outcome
Commitment to a Plan of Actions
Immediate Competing Demands and Preferences
Health-Promoting Behavior
Empowerment
ประเภท
Psychological Empowerment
Meaning
มีความสอดคล้องกันระหว่างความเชื่อ ค่านิยม
Competence
การรับรู้ความสามารถของตนเอง
Self-determination
สามารถควบคุมงานที่รับผิดชอบหรือกิจกรรม
Impact
การมีอิทธิต่อผลลัพธ์ที่คาดหวัง
Structural Empowerment
สภาพการทํางานในองค์กรที่ทําให้บุคคลหรือลูกจ้างได้รับพลังอํานาจ
ขั้นตอนของการสร้างเสริมพลังอานาจ
discovering reality
critical reflection
Taking charge
holding
Trans theoretical Model Stage of Change
ขั้นตอน
Pre-contemplation stage
ไม่ตระหนักรู้ไม่คิดว่าสิ่งที่ทําอยู่ ณ ปัจจุบันเป็นปัญหา
Contemplation stage
ตระหนักรู้ว่ามีปัญหําแต่ยังไม่คิดที่จะทําการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
Preparation stage
มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในอีก 1 เดือนข้างหน้า
Action stage
กระทําการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอยู่ในช่วง 6 เดือนแรกของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
Maintenance
สามารถคงไว้ซึ่งพฤติกรรมใหม่อย่างสม่ำเสมอได้นานมากกว่า 6 เดือน
Termination
ไม่มีอะไรมาเย้ายวนให้กลับไปทําพฤติกรรมเดิมได้อีก
หลักกระบวนการช่วยเปลี่ยนแปลง
Process of Change
การเลือกใช้ให้เหมาะกับระดับของกระบวนการเปลี่ยนแปลงว่าผู้รับบริกํารอยู่ในระดับใด
เทคนิคที่เกี่ยวข้องกับความรู้หรือปรับทัศนคติมักเหมาะกับผู้ที่อยู่ในระยะแรกๆ
เหมาะกับผู้ที่อยู่ในระยะที่ต้องการให้พฤติกรรมมีความคงเส้นคงวา หรือต้องการให้เกิดความต่อเนื่อง
A6480056
นางสาวนลินทิพย์ ยอดตา