Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2 ทฤษฎีการสร้างเสริมสุขภาพ - Coggle Diagram
บทที่2 ทฤษฎีการสร้างเสริมสุขภาพ
ทฤษฎี(Theory) เป็นกลุ่มของแนวคิดหรือมโนทัศน์ (Concepts)คำจำกัดความ (Definitions) และข้อเสนอ(Proposition) ใช้ในการอธิบายหรือคาดการณ์ ด้วยการเสนอความสัมพันธ์ระหว่าตัวแปรต่างๆที่เกิดขึ้นในปรากฏการณ์หรือเหตุการณ์นั้นๆ
ทฤษฎี มักมีความเป็นกลาง และมีลักษณ์เป็นนามธรรม ไม่มีเนื้อหาเฉพาะเจาะจงกับปัญหาสุขภาพประเด็นใดประเด็นหนึ่ง
แนวคิดหรือมโนทัศน์(Concepts)
เป็นอ
ค์ประกอบหลักที่มีอยู่ในทฤษฎีและประกอบกันเป็นคำอธิบาย หรือการคาดการณ์ถึงปรากฎการณ์ต่างๆ ของทฤษฎี
แบบจำลอง (Models)
เป็นการรวมเอาแนวคิดหรือองค์ประกอบจากทฤษฎีหลายทฤษฎี เพื่อให้เกิดความเข้าใจในประเด็นปัญหาที่เฉพาะเจาะจง
แบบความเชื่อด้านสุขภาพ(Health Belief Model:HBM)
แนวคิด
การรับรู้ของบุคคลเป็นตัวบ่งชี้พฤติกรรมโดยบุคคลจะกระทำเข้าใกล้กับสิ่งที่ตนพอใจ และคิดว่าสิ่งนั้นจะก่อให้เกิดผลดีแก่ตน และจะหนีห่างจากสิ่งที่ตนไม่ปราถนา
การที่บุคคลใดจะมีพฤติกรรมหลีกเลี่ยง จากการเป็นโรค บุคคลนั้นจะต้องมีความเชื่อว่า เขามีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรค โรคมีความรุนแรงต่อชีวิตของเขาพอสมควร และการปฏิบัติในการหลีกเลี่ยงจากการเป็นโรค
ปัจจัยร่วม(Modifying Factors)
เป็นปัจจัยที่ไม่มีผลโดยตรงต่อพฤติกรรมสุขภาพ แต่เป็นปัจจัยพื้นฐานที่จะส่งผลไปถึงการรับรู้และการปฏิบัติ ได้แก่
ปัจจัยด้านประชากร :เพศ อายุ เชื้อชาติ ศาสนา
ปัจจัยด้านสังคมจิตวิทยา : เช่น บุคลิกภาพ กลุ่มเพื่อน มีความเกี่ยวข้องกับบรรทัดฐานทางสังคม ค่านิยม วัฒนธรรม ซึ่งเป็นพื้นฐานทำให้เกิดการปฎิบัติเพื่อป้องกันโรคที่แตกต่างกัน
ปัจจัยโครงสร้างพื้นฐาน : ระบบบริการสุขภาพ
ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม (Social Support Theory)
บุคคลได้รับการช่วยเหลือจากการปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในสังคม ทั้งด้านอารมณ์ ด้านข้อมูล ข่าวสาร ดัานการเงิน แรงงาน หรือวัตถุสิ่งของต่างๆ อาจเป็นสมาชิกในครอบครัว ญาติพี่น้อง เพื่อน บุคลากรทางการแพทย์
แหล่งที่มาของการสนับสนุนทางสังคม
1.ระบบการสนับสนุนตามธรรมชาติ
จากครอบครัว ญาติพี่น้อง ซึ่งถือว่ามีความสำคัญมากที่สุดต่อผู้ป่วยเพราะครอบครัวมีบทบบาทสำคัญต่อผู้ป่วยตั้งแต่วัยเด็ก เพราะเป็นแหล่งที่ถ่ายทอด ค่านิยมความเชื่อ แบบแผนพฤติกรรม การปฏิสัมพันธ์และประสบการณ์ต่างๆ
2.ระบบสนับสนุนจากกลุ่มเพื่อน
ได้รับบุคคลซึ่งมีประสบการณ์ มีความชำนาญในการที่จะค้นคว้าหาความต้องการและสามมารถติดต่อซักจูงผู้ป่วยได้โดยง่าย ทำให้ผู้ป่วยเป็นบุคคลซึ่งประสบความสำเร็จ และสามารถปรับตัวต่อสถานการณ์ที่เลวร้ายต่างๆในชีวิตอุนจะเป็นเครื่องมือสำคัญในการให้การสนับสนุนผู้ป่วย
3.ระบบสนับสนุนด้านศาสนาหรือแหล่งอุปถัมภ์ต่างๆ
เป็นแหล่งที่จะช่วยให้ผู้ป่วยได้มีการแลกเปลี่ยนความเชื่อ ค่านิยม คำสอน คำแนะนำเกี่ยวกับวิถีการดำรงชีวิตและขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆ ได้แก่ พระนักบวช หมอสอนศาสนา หลุ่มผู้ปฎิบัติธรรม
4.ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพสุขภาพ
เป็นแหล่งการสนับสนุนเป็นแห่งแรกที่ให้การช่วยเหลือผู้ป่วย เช่น แพทย์ พยาบาล เจ้าหน้าที่ สาธารณสุข
5.ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพอื่นๆ
เป็นการสนับสนุนจากกลุ่มบริการอาสาสมัคร
ประเภทของการสนับสนุนทางสังคม
1.การสนับสนุนด้านอารมณ์ (Emotional support)
การใกล้ชิดสนิทสนม ได้แก่ พฤติกรรมซึ่งแสดงออกการรับฟังอย่างสนใจ แสดงความยกย่อง แสดงให้เห็นถึงความเข้าใจ รวมถึงการกระทำกิจกรรมร่วมกัน
2.การสนับสนุนด้านการประเมิน(Appraisal support)
ได้แก่ การได้รับข้อมูลย้อนกลับ การได้รับคำรับรองซึ่งจะทำให้ผู้รับเกิดความพอใจนำไปประเมินตนเอง และเปรียบเทียบกับตัวเองกับผู้อื่นในสังคมเดียวกัน
3.การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร(Information support)
เป็นการได้รับคำแนะนำ คำเตือน คำปรึกษาที่สามารถนำไปแก้ไขปัญหาที่กำลังเผชิญอยู่ได้
4.การสนับสนุนด้านการเงิน แรงงานและสิ่งของ(Instrumental support)
ซึ่งเป็นพฤติกรรมการช่วยเหลือโดยตรงต่อความจำเป็นพื้นฐาน
ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม
กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน
กลุ่มผู้ส่งอายุ
กลุ่มผู้ติดเชื้อเอดส์
กลุ่มส่งเสริมสุขภาพ เช่น กลุ่มแอร์โรบิค กลุ่มวิ่ง กลุ่มปั่นจักรยาน กลุ่มปฏิบัติธรรม
แนวคิดนี้มีประโยชน์มากในการสร้างเครือข่ายเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ และการดํและรักษาโรคเรื้อรัง
PRECEDE-PROCEED Model
PRECEDE-PROEED Model
เป็นเครื่องมือสำคัญของนักสุขศึกษาที่นำมาประยุกต์ใช้วางแผน และประเมินผลโครงการสุขภาพ และสุขศึกษา
ได้รับการพัฒนาขึ้นมาโดย นักพฤติกรรมศาสตร์และนักสุขศึกษา2 ท่าน คือ Lawrence W.Green และ Matthew W. Krueter
ขั้นตอนที่1การวิเคราะห์ทางสังคม (Phase1:SocialAssessment
ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์ทางระบมเวิทยา(Phase2:Epidemiological Assessment)
ขั้นตอนที่3 การวิเคราะห์ด้านพฤติกรรม (Phae3: Behavioral Assessment)
ขั้นตอนที่4 การวิเคราะห์ทางการศึกษา (Phase4: Educational Assessment)
ขั้นตอน5 การวิเคราะห์ทางการบริหาร (Phase5: Administrative and Policy Assessment
ขั้นตอนที่6 การปฏิบัติการ (Phase6 :Implementation)
ขั้นตอนที่7การประเมินกระบวนการ (Phase7: Process Evaluation)
ขั้นตอนที่8 การประเมินผลกระทบ(Phase8:Impact Evalution
ขั้นตอนที่9 การประเมินผลลัพธ์(Phase9:Outcome Evaluaction)
การสร้างเสริมพลังอำนาจ(Empowerment
เป็นกระบวนการที่จะช่วยให้บุคคลตระหนัก และค้นหาความสามารถ หรือความเข้มแข็งที่มีอยู่ในตนเองเพื่อช่วยให้บุคคลมีความมั่นใจการดูแลตนเองให้มีสุขภาพดี เข้าสู่การมีสุขภาวะที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย จิตใจสังคม และปัญญา อย่างเป็นองค์รวม
ประเภทของการสร้างเสริมพลังอำนาจ
1.การสร้างเสริมพลังำนาจเชิงจิตใจ(Psychological Empowerment ) เป็นกระบบนการเกี่ยวข้องกับการสร้างแรงจูงใจแก่บุคคลให้เกิดการรู้คิดใน 4 คุณลักษณะ คือ
ความหมาย (Meaning) มีความสอดคล้องกันระหว่างความเชื่อ ค่านิยม และการกระทำ
สมรรถนะ(Competence) เป็นความมั่นใจที่จะปฏิบัติพฤติกรรมนั้นได้สำเร็จ อาจเรียกว่า การรับรู้ความสามารถของตนเอง(Self-efficacy)
การตัดสินใจด้วยตนเอง (Self-edtermination)สามารถควบคุมงานที่รับผิดชอบ หรือกิจกรรมนั้นได้
ผลกระทบ(Impact)คือ การมีอิทธิต่อผลลัพธ์ที่คาดหวัง
2.การสร้างเสริมพลังอำนาจเชิงโครงสร้าง(Strutural Empowerment)
ลักษณะของการสร้างเสริมพลังอำนาจ
1.การสร้างเสริมพลังอำนาจระดับบุคคลและระดับกลุ่ม การให้อำนาจแต่ละคน ให้สามารถควบคุมชีวิตของตน เพื่อเลือกสิ่งต่างๆเองได้และมีทรัพยากรที่จะช่วยให้ได้สิ่งที่เลือกนั้นซึ่งสามารถทำโดยกลุ่มได้ เช่นกลุ่มคนพิการ สมาชิกขององค์การต่างๆ
2.การสร้างเสริมพลังอำนาจภายในและภายนอก เป็นการเพิ่มศักยภาพจากภายในกลุ่มหรือชุมชนโดยการการระดมทัพยากร ความร่วมมือ ความสามารถ สติปัญญาและความกระตือรือร้นของคนในชุมชน
ขั้นตอนการสร้างเสริมพลังอำนาจ
1.discovering reality การค้นพบความจริง
2.Critical reflection การพิจารณาไตร่ตรอง สะท้อนคิดอย่างมีวิจารณญาณ
Taking charge ดำเนินการดัดสินใจเลือกวิธีปฏิบัติที่เหมาะสมต่อรอง ปกป้องสิทธิ
holding มั้นใจที่จะควบคุมสถานการณ์ได้
ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม Trans theoretical Model Stage of Chang :TTM
มีทั้งหมด 6ขั้นตอน คือ
2.ขั้นชั่งใจ(Contemplotion stage)
ตระหนักรู้ว่ามีปัญหา แต่ยังไม่คิดที่จะทำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ไม่แน่ใจ ยังครุ่นคิดอยู่ และมีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในอีก6เดือนข้างหน้า
3.ขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ(Preparation stage/Determination)
เตรียมตัวเริ่มมีความพร้อมที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนในอีก1 เดือนข้างหน้า
1.ขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage)
ยังไม่มีความสนใจที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในอีก6เดือนข้างหน้า ไม่ตระหนักรู้ไม่คิดว่าสิ่งที่อยู่ ณ ปัจจุบัน เป็นปัญหา หรือมีความจำเป็นที่จะต้องทำการปรับเปลี่ยน
4ขั้นปฏิบัติ(Action stage)
เชื่อมั่นในศักยภาพของตนเองว่าสามารถทำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้และกำลังกระทำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กระทำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอยู่ในช่วง6 เดือนแรกของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (ไม่เกิน6เดือน)
5ขั้นคงไว้ซึ่งปฏิบัติที่ต้องการ (Maintenance)
สามารถคงไว้ซึ่งพฤติกรรมใหม่อย่างสม่ำเสมอได้นานมากกว่า 6เดือน ถึงแม้ว่าจะมีสิ่งเร้ากระตุ้นให้กลับไปสู่พฤติกรรมเดิม
6.ขั้นยุติพฤติกรรมเดิมอย่างถาวร(Termination)
ไม่มีอะไรมาเย้ายวนให้วนกลับไปทำพฤติกรรมเดิมได้อีก สามารถมั่นใจได้ 100% มีการเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างถววรตลอดชีวิต
หลักกระบวนการช่วยเปลี่ยนแปลง Process of Change
การระบายความรู้สึก(Dramatic relief ) เพื่อกระตุ้นหรือผลักดันจิตใจอารมณ์ให้เกิดความอยากเปลี่ยนแปลง เช่นการให้ลองเล่นเป็นคนอื่นดู (role play) ให้สามีและภรรยาลองเล่นละครสลับบทบาทกันเพื่อสะท้อนความรู้สึกต่อพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพของกันและกัน การใช้ตัวละครโฆษณาแสดงความรู้สึกผิดหรือเสียใจที่ไม่ได้เปลี่ยนพฤติกรรม
3.การใคร่ควรญผลต่อสังคมรอบข้าง(social reevaluation)เช่น นึกต่อไปว่าถ้าตนเองดื่มแอลกอฮอล์จัดอยู่ ต่อไปลูกๆจะเป็นอย่างไร หรือผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่สนใจควบคุมอาหารจนทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น ตาบอดหรือถูกตัดขาจนเป็นภาระให้แก่ลูกหลานต้องดูแลจนอาจมีรายจ่ายเพิ่มมากขึ้น
การปลุกจิตสำนึก(Consciousness raising)เป็นการใช้วิธีต่างๆบอกให้รู้ผลเสียของการเปลี่ยน และผลดีของการเปลี่ยนพฤติกรรม เช่นการให้การศึกษาอธิบาย ตีความหมายให้ฟัง บอกให้รู้ตรงๆหรือรณรงค์ผ่านสื่อๆต่างๆ
4.การใคร่ครวญผลต่อตนเอง(self reevaluation)เช่นจินตนาการว่าถ้าเอาแต่นอนโซฟาดูทีวี ภาพของตนเองต่อไปจะเป็นอย่างไร ถ้าขยันขันแข็งออกกำลังกายทุกวันภาพของตนจะเป็นอย่างไร
5.การปลดปล่อยตนเอง(self liberation ) คือการพยายามให้มีการเลือกในการเปลี่ยนแปลง งานวิจัยบ่งชี้ว่าถ้าคนเรามีทางเลือกสองทาง จะมีความมุ่งมั่นมากกว่ามีทางเลือกทางเดียว ถ้ามีทางเลือกสามทาง จะมีมุ่งมั่นมากกว่ามีทางเลือกสองทางยกตัวอย่าง การให้เลือก เช่น ถ้าจะเลิกสูบบุหรี่ ก็ให้เลือกได้สามทาง จะเลิกแบบหักดิบก็ได้ แบบกินนิโคตินทดแทนก็ได้ หรือเลิกแบบค่อยๆลดลงก็ได้
6.การปลดปล่อยสังคม(social liberation) คืออาศัยความรู้สึกว่าเป็นการปลดปล่ยจากการถูกกดขี่เอาเปรียบทางสัมคมมา เป็นตัวสร้างความมุ่งมั่นในการเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เช่นโครงการส่งเสริมสุขภาพชนกลุ่มน้อย
7.ให้เรียนรู้ว่าสิ่งตรงกันข้าม(counterconditioning)เช่นให้เรียนรู้การสนองตอบแบบผ่อนคลายเพื่อแก้ปัญหาเครียด ให้เรียนรู้การเป็นคนกล้าพูดกล้าแสดงออกเพื่อแก้ปัญหาการทนแรงกดดันจาก เพื่อนชวนไม่ได้
8.บังคบให้ทำสิ่งที่ดีกว่าทางอ้อม(Stimulus control)เช่นการสร้างที่จอดรถให้ห่างที่ทำงาน เพื่อบังคับให้ต้องเดินติดตั้งงานศิลปกรรมไว้ข้างบันได เพื่อซักจูงให้ขึ้นลงบันได
9.จงใจใช้แผนกระตุ้น(contingency management)เช่นการตกรางวัลถ้าทำสิ่งที่ดีกว่าการชื่นชมผลงาน หรือแม้กระทั่งการลงโทษถ้าไม่เลิกสิ่งที่ไม่ดี
กัลยาณมิตร(helping relationship ) เช่นการเป็นที่ปรึกษาทางโทรศัพท์ให้การมีบัดดี้คอยสนับสนุน