Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 ทฤษฎีการสร้างเสริมสุขภาพ - Coggle Diagram
บทที่ 2
ทฤษฎีการสร้างเสริมสุขภาพ
ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม (Social Support Theory)
จะสังเกตพบว่าปัจจุบันมีการรวมกลุ่มของผู้ที่มีปัญหาเหมือนกันขึ้นในชุมชน เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสาราร ให้กําลังใจ ร่วมตัดสินใจหรือดูแลช่วยเหลือเมื่อมีปัญหา
กลุ่มผู้ติดเชื้อเอดส์ กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน กลุ่มผู้สูงอายุ ตลอดจนกลุ่มส่งเสริมสุขภาพ เช่น กลุ่มแอร์โรบิค กลุ่มวิ่ง กลุ่มปั่นจักรยาน กลุ่มปฏิบัติธรรม
แนวคิดนี้มีประโยชน์มากในการสร้างเครือข่ายเพื่อกํารส่งเสริมสุขภาพ และการดูแล รักษาโรคเรื้อรัง
แนวคิดนี้มีประโยชน์มากในการสร้างเครือข่ายเพื่อกํารส่งเสริมสุขภาพ และการดูแล รักษาโรคเรื้อรัง
จะสังเกตพบว่าปัจจุบันมีการรวมกลุ่มของผู้ที่มีปัญหาเหมือนกันขึ้นในชุมชน เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสาราร ให้กําลังใจ ร่วมตัดสินใจหรือดูแลช่วยเหลือเมื่อมีปัญหา
แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพ
(Health Promotion Model : HPM)
ความสําคัญของตนเอง เสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติการส่งเสริม สุขภาพสนับสนุน
ให้กระทํากิจกรรมนั้นอย่างสม่ำเสมอและยาวนาน
กํารส่งเสริมสุขภําพในแต่ละบุคคลนั้นมีเหตุผลแตกต่างกัน พยาบาลควรแนะนํา วิธีการที่เหมาะสมสําหรับแต่ละบุคคล ส่งเสริมให้เห็นความสําคัญของสุขภาพ
แบบแผนความเชื้อด้านสุขภาพ
( Health Belief Model : HBM )
การตรวจเต้านมด้วยตนเอง การใช้ถุงยางอนามัย
ได้ผลดีทั้งในระดับบุคคล และชุมชน แต่จะให้ได้ผลดีมาก
ขึ้หากนำมาใช้ตอบสนองต่อการรับรู้เฉพาะด้านที่เป็นปัญหาของ ผู้รับบริการให้เฉพาะเจาะจง
หากพบว่าการที่สตรีไม่ไปรับการตรวจมะเร็งปากมดลูกเพราะ ความอายในการเปิดเผยร่างกาย ซึ่งเป็นการรับรู้อุปสรรคแบบหนึ่ง การแก้ไขก็ควรจัดสภาพห้อง ตรวจให้มิดชิด อาจจัดหาปลอกขาสําหรับใหูผ้รับบริการสวมใส่ขณะตรวจ
การนำเอาแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพมาใช้ในการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมพฤติกรรม ป้องกันโรค
การสร้างเสริมพลังอำนาจ (Empowerment)
การเกิดโรคภัยไข้เจ็บหรือปัญหาด้านสุขภาพองค์รวม
ที่ร้ายแรง ที่อําจจะเกิดตามมาจากการใช้ชีวิต
กลไกที่ถือได้ว่าเป็นหัวใจของแนวทํางซึ่งหมายถึง
“สร้าง” นํา “ซ่อม” การให้ความสําคัญกับกํารสร้างความแข็งแกร่งทางด้านสุขภาพองค์รวม เพื่อป้องกัน
คํานึงถึงผลกระทบต่อสุขภาพของตนเอง
ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
(Trans theoretical Model Stage of Change : TTM)
เทคนิคที่เกี่ยวข้องกับความรู้ หรือปรับทัศนคติมเหมาะ
กับผู้ที่อยู่ในระยะแรกๆ
ประเด็นที่สําคัญในการใช้เทคนิควิธีการทั้ง 10 นี้ ก็คือ กํารเลือกใช้
ให้เหมาะกับระดับของ กระบวนการเปลี่ยนแปลงว่าผู้รับบริการอยู่ในระดับใด
ผู้ที่ยังไม่ตัดสินใจ ยังไม่วางแผน ในขณะ ที่เทคนิคที่ช่วยให้พฤติกรรมใหม่คงไว้ เหมาะกับผู้ที่อยู่ในระยะที่ต้องการให้พฤติกรรม มีความคงเส้นคงวา หรือต้องกํารให้เกิดความต่อเนื่อง
PRECEDE-PROCEED Model
การประเมินในระยะที่ 1–3 ช่วยให้สามารถกาหนดจุดประสงค์ที่ต้องการให้ บรรลุตามเป้าหมาย ภายหลังการดาเนินงานตามแผนงานโครงการแล้ว
เป็นโมเดลที่นํามาประยุกต์ใช้ในการวางแผนและประเมินผล โครงการส่งเสริมสุขภาพและสุขศึกษา โดยเฉพาะ PRECEDE Model
เป็นกรอบในการวางแผนสุขศึกษาและการมีส่วนร่วมของ
กลุ่มเป้าหมายที่จะนําไปสู่การมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ต่อไป