Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2 ทฤษฎีในการสร้างสริมสุขภาพ - Coggle Diagram
บทที่2
ทฤษฎีในการสร้างสริมสุขภาพ
แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ
Health Belief Model:HBM
แนวคิด
การรับรู้ของบุเป็นตัวชี้พฤติกรรม โดยบุคคลจะกระทำหรือเข้าใกล้กับสิ่งที่ตนพอใจและคิดว่าสิ่งนั้นจะก่อให้เกิดผลดีแก่ตน
การที่บุใดจะมีพฤติกรรมหลีกเลี่ยง จากการเป็นโรค บุคคลนั้นจะต้องมีความเชื่อว่า เขาเสี่ยงต่อการเป็นโรค
ปัจจัยร่วม (Modifying Factors)
ปัจจัยด้านประชากร :เพศ อายุ เชื้อชาติ
ปัจจัยด้านสังคมจิตวิทยา เช่น บุคลิกภาพ กลุ่มเพื่อน มีความเกี่ยวข้องกับบรรทัดฐานทางสังคม
ปัจจัยโคพื้นฐาน : ระบบบริการสุขภาพ
องค์ประกอบแบบจำลองความเชื่อด้านสุขภาพ
1.การรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค
ความเชื่อหรือการคาดคะเนว่า ตนมีโอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคหรือปัญหาสุขภาพนั่น
การประยุทธ์ใช้ในการปฏิบัติ
ค้าหาบุที่มีความเสี่ยงและประเมินความเสี่ยง การคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิต มะเร็งปากหมดลูก
2.การรับรู้ความรุนแรงของโรค
ความเชื่อที่บุคคลเป็นผู้ประเมินในด้านความรุนแรงของโรคที่มีต่อร่างกย
การประยุใช้ในการปฏิบัติ
วิเคผลที่เสียที่จะเกิดตามมาจากความผิดปกติหรือความเจ็บป่วยในทุกๆด้าน
3.การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับและค่าใช้จ่าย
การที่บุคคลแสวงหาวิธีการปฏิบัติให้หายจากโรคหรือป้องกันไม่ให้เกิดโรค โดยการปฏิบัติต้องมีความเชื่อว่าเป็นการกระทำที่ดีมีประโยชน์
การประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติ
ร่วมกันกำพฤติกรรมที่ควรปฏิบัติให้ชัดเจน
4.แรงจูงใจด้านสุขภาพ
ระดับความสนใจและความห่วงใยเกี่ยวกับสุขภาพความปรารถนาที่จะดำรงรักษาสุขภาพและหลีกเลี่ยงความเจ็บป่วย
5.ปัจจัยร่วม
ปัจจัยที่มี่ส่วนช่วยส่งเสริมหรือเป็นอุปสรรคต่อการที่บุคคลจะปฏิบัติเพื่อการป้องกันโรค
ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม
แหล่งที่มาของการสนับสนุนทางสังคม
1.ระบบการสนับสนุนตามธรรมชาติ
จากครอบครัว ญาติพี่น้องซึ่งถือว่ามีความสำคัญมากที่สุดต่อผู้ป่วยเพราะครอบครัวมีบทบาทสำคัญต่อผู้ป่วยตั้งแต่วัยเด็ก
2.ระบบสนับสนุนจากกลุ่มเพื่อน
ได้รับจากบุคคลซึ่งมีประสบการณ์ มีความชำนาญในการที่จะค้นคว้าหาความต้องการและสามารถติดต่อชักจูงผู้ป่วยได้โดยง่าย
3.ระบบสนับสนุนด้านศาสนาหรือแหล่งอุปถัมภ์ต่างๆ
4.ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพด้านสุขภาพ
5.ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพอื่นๆ
เป็นการสนับสนุนจากกลุ่มบริการอาสาสมัคร
ประเภทของการสนับสนุนทางสังคม
1.การสนับสนุนด้านอารมณ์ (Emotional support) การใกล้ชิดสนิทสนม ได้แก่พฤติกรรมซึ่ง แสดงออกด้วยการรับฟังอย่างสนใจ
2.การสนับสนุนด้านการประเมิน (Appraisal support) การได้รับข้อมูลย้อนกลับ การได้คำรับรองซึ่งจะทำให้ผู้รับเกิดความพอใจ
3.การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร(lnformation support) เป็นการได้รับคำแนะนำคำเตือน คำที่ปรึกษาที่สามารถนำไปแก้ไขปัญหาที่กำลังเผชิญอยู่ได้
4.การสนับสนุนด้านการเงิน แรงงานและสิ่งของ (Instrumental support) เป็นพฤติกรรมการช่วยเหลือโดยตรงต่อความจำเป็นพื้นฐาน
PRECEDE-PROcEED Model
ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ทางสังคม (Phase1 : Social Assessment)
เป็นการพิจารณา และวิเคราะห์ คุณภาพชีวิตถือเป็นขั้นตอนแรกของการวิเคราะห์
ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์ทางระบาดวิทยา (Phase 2 : Epidemiological Assessment)
การวิเครว่ามีปัญหาสุขภาพที่สำคัญอะไรบ้าง ข้อมูลระบาดวิทยาจะชี้ให้เห็นถึงการเจ็บป่วยการเกิดโรคและภาวะสุขภาพ
ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์ด้านพฤติกรรม (Phase 3 : Behavioral Assessment)
ปัจจัยปัญหาด้านด้านสุขภาพอนามัยที่ได้ในขั้นตอน 1-2จะนำมาวิเคราะห์ต่อเพื่อหาสาเหตุที่เกี่ยวข้อง โดยแบ่งเป็นสาเหตุอันเนื่องมาจากพฤติกรรมของบุคคล
ขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ทางการศึกษา (Phase 4 : Educational Assessment)
ระยะนี้เป็นการประเมินสาเหตุของพฤติกรรมสุขภาพที่ระบุไว้ในระยะที่2สาเหตุของพฤติกรรมสุขภาพประกอบด้วย 3ปัจจัย ปัจจัยนำ ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยเสริมแรงให้เกิดพฤติกรรมต่อเนื่อง
ขั้นตอนที่ 5 การวิเคราะห์ทางการบริหาร (Phase 5 : Administrative and Policy Assessment)
การประเมินความสามารถของการบริหารและนโยบายของการจัดการโครงการส่งเสริม
ขั้นตอนที่ 6 การปฏิบัติการ (Phase 6 : Implementation)
ดำเนินงานตามกลวิธี วิธีการและกิจกรรม โดยผู้รับผิดชอบในแต่ละเรื่องและประเด็น
ขั้นตอนที่ 7 การประเมินกระบวนการ (Phase 7 : Process Evaluation)
เพื่อประเมินถึงปัจจัยด้านการบริหารจัดการ ที่จะมีผลต่อการดำเนินโครงการที่ได้วางแผนไว้
ขั้นตอนที่ 8 การประเมินผลกระทบ (Phase 8 : Impact Evaluation)
ประเมินผลลัพธ์ที่เกิดจากการดำเนินโครงการในระยะสั้น เป็นการวัดประสิทธิพลของแผนงาน
ขั้นตอนที่ 9 การประเมินผลลัพธ์ (Phase 9 : Outcome Evaluation)
เป็นการรวบยอดของวัตถุประสงค์ที่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นและประโยชน์ที่ได้รับด้านสุขภาพหรือคุณภาพชีวิต
การเสริมสร้างพลังอำนาจ (Empowerment)
ประเภทของการเสริมสร้างพลังงาน
1.การสร้างเสริมพลังงานอำนาจPsychological Empowerment)
2.การสร้างเสริมอำนาจเชิงโครงสร้าง (Structural Empowerment)
ขั้นตอนของการสร้างเสริมอำนาจ
Discovering reality การค้นพบความจริง
Critical reflection การพิจารณาไตร่ตรอง สะท้อนคิดอย่างมีวิจารณญาณ
Taking charge ดำเนินการตัดสินใจเลือกวิธีการปฏิบัติที่เหมาะสม เรียนรู้เรียกร้อง จัดการ
4.holding มั่นใจที่จะควบคุมสถานการณ์