Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 ทฤษฎีการสร้างเสริมสุขภาพ, A6480050ชนิศวรา โสมาบุตร - Coggle…
บทที่ 2
ทฤษฎีการสร้างเสริมสุขภาพ
แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ
(Health Belief Model : HBM)
องค์ประกอบของแบบจำลองความเชื่อด้านสุขภาพ
การรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค
การรับรู้ความรุนแรงของโรค
การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับและค่าใช้จ่าย
แรงจูงใจด้านสุขภาพ
ปัจจัยร่วม
การนำเอาแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพมาใช้ในการจัดกิจกรรมเพื่อนส่งเสริมพฤติกรรม ป้องกันโรค
ปัจจัยร่วม (Modifying Factors)
ปัจจัยด้านประชากร
ปัจจัยด้านสังคมจิตวิทยา
ปัจจัยโครงสร้างพื้นฐาน
ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
(Trans Theoretical Model Stage of Change : TTM)
มีทั้งหมด 6 ขั้นตอน คือ
ขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage)
ยังไม่มีความสนใจที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในอีก 6 เดือนข้างหน้า
ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอีก 6 เดือนข้างหน้า
ขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ (Preparation stage / Determina
มีแนวโน้มที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอีก 1 เดือนข้างหน้าและเริ่มทำพฤติกรรมบางอย่างแล้ว
ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
กระทำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้นานมากกว่า 6 เดือน
ขั้นยุติพฤติกรรมเดิมอย่างถาวร (Termination)
ไม่มีอะไรอย่ามาเย้าญวนให้กลับไปทำพฤติกรรมเดิมได้อีกสามารถมั่นใจได้ 100% มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอย่างถาวรตลอดชีวิต
ขั้นปฏิบัติ (Action stage)
กรทำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอยู่ในช่วง 6 เดือนแรกการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
เทคนิคที่เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นก่อนชั่งใจเพื่อนเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นชั่งใจ
การปลุกจิตสำนึก (consciousness)
การระบายความรู้สึก (dramatic relief)
การใคร่ครวญผลต่อสังคมรอบข้าง (social reevaluation)
เทคนิคที่เหมาะสำหรับเทคนิคที่เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นช่างใจ เพื่อเลื่อนขั้นสู่ขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ
การใคร่ครวญผลต่อตนเอง (self reevaluation)
เทคนิคที่เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นเตียมพร้อมที่จะปฏิบัติ เพื่อเลื่อนขั้นไปสู่ขั้นปฏิบัติ
การปลดปล่อยตนเอง (self liberation)
เทคนิคที่เหมาะสำหรับเทคนิคที่เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นปฏิบัติ เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ
การปลดปล่อยสังคม (social liberation)
การเรียนรู้สิ่งตรงกันข้าม (counter conditioning)
บังคับให้ทำสิ่งที่ดีกว่าทางอ้อม (stimulus control)
จงใจใช้แผนกระตุ้น (contingency management)
กลัยาณมิตร (helping relationship)
การสร้างเสริมพลังอำนาจ (Empowerment)
กระบวนการที่จะช่วยให้บุคคลตระหนัก และค้นหาความสามารถ และ หรือความเข้มแข็งที่มี อยู่ในตนเองเพื่อช่วยให้บุคคลมีความมั่นใจในกํารดูแลตนเองให้มีสุขภําพดี เข้าสู่กํารมีสุขภาวะ ที่ สมบูรณ์ทั้งทางกาย จิตใจสังคม และปัญญาอย่างเป็นองค์รวม
ประเภทของการสร้างเสริมพลังอานาจ
การสร้างเสริมพลังอำนาจเชิงการสร้างเสริมพลังอำนาจเชิงจิตใจ (Psychological Empowerment)
การสร้างเสริมพลังอำนาจเชิงโครงสร้าง (Structural Empowerment)
แบบจาลองการส่งเสริมสุขภาพ (Health Promotion Model : HPM)
การส่งเสริมสุขภาพในเเต่ละบุคคลนั้นมีเหตุผลเเตกต่างกัน พยาบาลควรแนะนําวิธีการที่หมาะสมสําหรับเต่ละบุคคลส่งเสริมให้เห็นความสําคัญของสุขภาพ
ความสําคัญของตนเองเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติการส่งเสริมสุขภาพสนับสนุน
ให้กระทํากิจกรรมนั้นอย่างสมม่ำเสมอและยาวนาน
แบบจําลองการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์มีพื้นฐานมาจากแนวคิดด้านการคิดรู้ ซึ่งประกอบด้วยความคาดหวังต่อผลลัพธ์ของการปฏิบัติพฤติกรรม (Outcome expectancies) จากทฤษฎีการให้คุณค่าการคาดหวัง และความคาดหวังในความสามารถของตนเอง (Self-efficacy expectancies)
PRECEDE-PROCEED MODEL
PRECEDE-PROCEED MODEL
Phase1 : Social Assessment
Phase 2 : Epidemiological Assessment
Phase 3 : Behavioral Assessment
Phase 4 : Educational Assessment
Phase 5 : Administrative and Policy Assessment
Phase 6 : Implementation
Phase 7 : Process Evaluation
Phase 8 : Impact Evaluation
Phase9 : Outcome Evaluation
PRECEDE - PROCEED Model -
เป็นเครื่องมือสำคัเป็นเครื่องมือสำคัญของนักสุขศึกษาที่นำมาประยุกต์ใช้วางแผนและประเมินโครงสร้างการส่งเสริมสุขภาพและสุขศึกษา
โดยได้รับการพัฒนาขึ้นโดยนักพฤติกรรมศาสตร์และนักสุขศึกษา 2 ท่าน คือ Lawrence W. Green และ Matthew W.krueter
ทฤษฎีเเรงสนับสนุนทางสังคม
(Social Support Theory)
บุคคลที่ได้รับการช่วยเหลือจากปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในสังคมทั้งด้านอารมณ์ด้านข้อมูลข่าวสารด้านการเงินรายงานหรือวัตถุสิ่งของต่างๆ
แหล่งที่มาของการสนับสนุนทางสังคม
ระบบการสนับสนุนตามธรรมชาติ
จากครอบครัวญาติพี่น้องซึ่งถือว่ามีความสำคัญมากสุด
ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มเพื่อน
ระบบสนับสนุนด้านศาสนาหรือแรงอุปถัมภ์ต่างๆ
ระบบสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพด้านสุขภาพ
ระบบสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพอื่นๆ
ประเภทของการสนับสนุนทางสังคม
การสนับสนุนด้านอารมณ์
การสนับสนุนด้านการประเมิน
การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร
การสนับสนุนด้านการเงินรายงานและสิ่งของ
A6480050ชนิศวรา โสมาบุตร