Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการและเทคนิคปฎิบัติ การช่วยเหลือผู้ป่วย โดยใช้ความร้อนและความเย็น -…
หลักการและเทคนิคปฎิบัติ
การช่วยเหลือผู้ป่วย
โดยใช้ความร้อนและความเย็น
การกระตุ้นด้วยความร้อน
เพิ่มการหลั่งเหงื่อ เพื่อระบายความร้อนภายใน
เพื่อให้เหงื่อพาความร้อนภายในออกมา
หลอดเลือดมีการขยายตัว เพื่อให้ความร้อนจากภายใน
ร่างกายถ่ายเทและระบายไปสู่สิ่งแวดล้อมมากขี้น
ลดการเผาผลาญในระดับเซลล์
ผลของความร้อน
ที่มีต่อร่างกาย
ทำให้มีการคลายตัวและยืดตัวของกล้ามเนื้อและเส้นเอ็นต่างๆ ลดลง
ทำให้การบวมและการอักเสบลดลง
ทำให้มีการเผาผลาญในระดับเซลล์เพิ่มขึ้น
กล้ามเนื้อเรียบที่อยู่ลึกๆ มีการคลายตัวจากการหดเกร็ง
ทำให้อุณหภูมิของผิวหนังและเนื้อเยื้อใต้ผิวหนังเฉพาะที่เพิ่มขี้น
ข้อควรระวังในการใช้
ความร้อน
ผู้ที่มีปัญหาโรคหัวใจ
ความดันสูง ความดันต่ำ
ผิวหนังแผลไฟไหม้พอง
หรือเกิดถุงน้ำขึ้น
ผู้ป่วยมีความผิดปกติของ
ระบบไหลเวียนเลือด
ผู้ป่วยที่ได้รับอุบัติเหตุในระยะ 24 ชั่วโมงแรก
ผู้ป่วยที่มีก้อนมะเร็งในระยะลุกลาม
ผู้ป่วยที่มีการบวมและอักเสบของอวัยวะอย่างมาก
เช่น การถอนรากฟัน ไส้ติ่งอักเสบ
ประเภทและชนิด
ของความร้อน
ความร้อนแห้ง :fire:
เช่น กระเป๋าน้ำร้อน ขวดน้ำร้อน กระเป๋าไฟฟ้า
ผ้าห่มไฟฟ้า การประคบร้อนด้วยแสง ถุงความร้อนด้วยเคมี
:fire:ความร้อนเปียก
เช่น การประคบด้วยความร้อน การอบด้วยความร้อน
การประคบความร้อนด้วยน้ำมันสน การแช่ก้นด้วยความร้อน
การกระตุ้นด้วยความเย็น
การหดตัวในขณะขนลุก เป็นการหดตัวของ
กล้ามเนื้อลายและต่อมเหงื่อเพื่อรักษา
ความร้อนไว้ในร่างกาย
มีการสั่น เพื่อให้เกิดความร้อนเพิ่มขึ้น
หลอดเลือดฝอยมีการหดตัว
เพื่อลดการระบายความร้อนและ
กักเก็บความร้อนไว้
มีการเร่งอัตราการเผาผลาญในร่างกายให้สูงขึ้น
ผลของความเย็น
ที่มีต่อร่างกาย
ทำให้อุณหภูมิเฉพาะที่ลดลง อุณหภูมิของร่างกายลดลง
ทำให้หลอดเลือดหดตัว การไหลเวียนเลือดลงดลง
ยับยั้งการมีเลือดออก
ช่วยระงับการอักเสบ ควบคุมการบวมชนิดเฉียบพลัน
ลดความต้องการให้ออกซิเจนของเซลล์ลดลง
ลดอาการบาดเจ็บที่เกิดจากการคลั่งของ
ของเสียที่เกิดจากการเผาผลาญมากเกินไป
ความรู้สึกเจ็บปวดลดลง ทำให้ประสาทความรู้สึกชา
ประเภทและชนิด
ของความเย็น
ความเย็นชนิดแห้ง
เช่น กระเป๋าน้ำแข็ง ถุงเยลลี่
ความเย็นชนิดเปียก
เช่น การประคบด้วยความเย็น
การใช้น้ำเย็นช่วยลดอุณหภูมิของร่างกาย
สิ่งที่ต้องคำนึงในการใช้
ความร้อนหรือความเย็น
กรณีที่แผลเก่าเป็นสะเก็ดแห้งกรัง
หากต้องการให้สะเก็ดแผลอ่อนนุ่ม
ควรใช้ความร้อนเปีก ประคบ หรือถ้าบาดแผลเปียกแฉะ
ต้องการให้แห้ง ต้องใช้ความร้อนแห้งในการรักษา
โรความดันโลหิตสูง ไม่ใช้ทั้ง
ความร้อนและความเย็นในการรักษา
การใช้อุปกร์ความร้อนหรือความเย็น ควรห่อหุ้มอุปกรณ์ด้วยผ้าชั้นหนึ่งก่อน เพื่อป้องกันผิวหนัง
ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บในระยะ 24 ชม.แรก
ต้องใช้ความเย็นประคบ
หากมีแผลเปิดหรือถลอกร่วมด้วย การบำบัด
ต้องยึดหลักปราศจากเชื้อ