Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่2 ทฤษฎีในการสรา้งเสรมิสุขภาพ - Coggle Diagram
บทที่2
ทฤษฎีในการสรา้งเสรมิสุขภาพ
ทฤษฎีเเรงสนบัสนุนทางสงัคม
(Social Support Theory)
ทฤษฎีเเรงสนับสนุนทางสังคม(SocialSupportTheory)
บุคคลได้รับการช่วยเหลือจากการปฎิสัมพันธ์กับบุคคลอื่นในสังคม ทั้งด้านอารมณ์ ด้านข้อมูลข่าวสาร ด้านดารเงินแรงงาน หรือวัตถุสิ่งของต่างๆ
แหล่งที่มาของการสนับสนุนทางสังคม
ระบบการสนับสนุนตามธรรมชาติ
ระบบสนับสนุนจากกลุ่มเพื่อน
ระบบสนับสนุนด้านศาสนาหรืแหล่งอุปถัมภ์ต่างๆ
ระบบการสนับสนุนจากกลุ่มวิชาชีพด้านสุขภาพ
ประเภทของการสนับสนุนทางสังคม
การสนับสนุนด้านอารมณ์ (Emotional support)
การสนับสนุนด้านการประเมิน (Appraisal support)
การสนัด้านข้อมูลข่าวสาร (Information support)
การสนับสนุนด้านการเงิน แรงงานและสิ่งของ (Instrumental support)
ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม
แนวคิดนี้มีประโยชน์มากในการสร้างเครือข่ายเพื่อนการส่งเสริมสุขภาพ และการดูแลรกษาโรคเรื้อรัง
กสุ่มผู้ติดเชื้อเอดส์
กลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มส่งเสริ่มสุขภาพ
แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ
(Health Belief Model : HBM)
ปัจจัยร่วม
(Modifying Factors)
การรับรู้ของบุเป็นตัวบ่งชี้พฤติกรรมโดยบุคคลจะกระทำหรือจะเข้าใกล้กับสิ่งที่ตนพอใจ
การที่บุใดจะมีพฤติกรรมหลีกเลี่ยงจากการเป็นโรค บุลลค นั้นจะต้องมีความเชื่อว่าเขามีโอกาสเสี่ยต่อการเป็นโรค
เป็นปัจจัยที่ไม่มีผลโดยตรงต่อพฤติกรรมสุขภาพแต่เป็นปัจจัยพื้นฐานที่จะส่งผลไปถึงการรับรู้และการปฎิบัติ ได้แก่
ปัจจัยโครงสร้างพื้นฐาน
ปัจจัยด้านประชากร
ปัจจัยด้านสังคมจิตวิทยา
องค์ประกอบของแบบจำลองความเชื่อด้านสุขภาพ
การรับรต่อโอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค
การรัความรุนแรงของโรค
การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับและค่าใช้จ่าย
แรงจูงใจด้านุขภาพ
ปัจจัยร่วม
PRECEDE - PROCEED Model
PRECEDE - PROCEED Model -เป็นเครื่องมือสำคัญของนักสุขศึกษาที่นำมาประยุกต์ใชช้วางแผน และประเมินผลโครงการส่งเสริมสุขภาพ และสุขศึกษา
ได้รับการพัฒนาขึ้นมาโดยนักพฤติกรรมศาสตร์และนักสุขศึกษา2ท่าน คือ Lawrence W. Green และ Matthew W.krueter
ขั้นตที่ 1การวิเคราะห์ทางสังคม (Phase1 : Social Assesment)
เป็นการพิจารณา และวิเคราะห์ สุขภาพชีวิต
ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์ทางระบาดวิทยา (Phase 2 : Epidemiological Assessment)
เป็นการวิเคราะห์ว่ามีปัญหาสุขภาพที่สำคัญอะไรบ้าง ข้อลูลทางระบาดวิยาจะชี้ให้เห็นถึงการเจ็บป่วยการเกิดโรค
ขั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์ด้านพฤติกรรม (Phase 3 : Behavioral Assessment)
เป็นการนำปัญหาด้านสุขอนามัยในขั้นตอนที่ 1-2 มาวิเคราะห์ต่อเพื่อหาสาเหตุที่เกี่ยวข้อง
ขั้นตที่ 4 การวิเคราะห์ทางการศึกษา (Phase 4 : Educational Assessment)
-ปัจจัยนำ
-ปัจจัยเอื้อ
-ปัจจัยเสริม
ขั้นตที่ 5 การวิเคราะห์ทางการบริหาร (Phase 5 : Administrative and Policy Assessment)
เป็นการประเมินความสามารถบริหาร และนโยบายของการจัดโครงส่งเสริมสุขภาพ
ขั้นตที่ 6 การปฎิบัติการ (Implementation)
ดำเนินงานตามกลวิธี วิธีการและกิจกรรม โดยผู้รับผิดชอบในแต่ละเรื่งและประเด็น
ขั้นตอนที่ 6 การประเมินกระบววนการ (Phase 7 : Process Evaltion)
เพื่อประเมินถึงปัจจัยด้านการบิการบริหารจัดการ ที่จะมีผลต่อการดำเนินโครงการที่วางแผนไว้
การสร้างเสริมพลังอำนาจ (Empowerment)
กระบวนการที่จะช่วยให้บุคคลตระหนักและค้นหาความสามารถและหรือความเข้มแข็งที่มีอยู่ในตนเองเพื่อช่วยให้บุคคลมีความมั่นใจในการดูแลตนเองให้มีสุขภาพที่ดีเข้าสู่การมีสุขภาพที่สมบูรณ์ทั้งกายจิตใจ สังคม ละปัญญา อย่างเป็นองค์รวม
ลักษณะของการสร้างเสริมพลังอำนาจ
การสร้างพลังอำระดับบุคคลและระดับกลุ่ม
การสร้างเสพลังอำนาจภายในและภายนอก
แหล่งที่มาของอำนาจ
อำนาจที่เกิดจากตำแหน่งหรือหน้าที่
อำนาจที่เกิดจากการควบคุมทรัพยากรต่างๆ
อำนาจที่เกิดจากการความสัมพันธ์ทางสังคม
อำนาจที่เกิดจากความเชี่ยวชาญ
อำนาจที่เกิดจากการมีข้อมูล
อำนาจที่เกิดจากคุณสมบัติหรือบุคลิกลักษณะส่วนตัว
ขั้นตอนของการสร้างเสริมพลังอำนาจ
Discovering reality การค้นพบความจริง
Critical reflection การพิจารณาไตร่ตรอง
Taking charge ดำเนินการตัดสินใจเลือกวิธีการปฏิบัติที่เหมาะสม
Holding มั่นใจที่จะควบคุมสถานการณ์ได้
ประเภทของการสร้างเสริมพลังอำนาจ
การสร้างเสริมพลังอำนาจจิตใจ
-ความหมาย
-สมรรถนะ
-ตัดสินใจด้วยตนเอง
-ผลกระทบ
การสร้างเสริมพลังอำนาจเชิงโครงสร้าง
สาระของทฤษฎี
แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ มีพื้นฐานมาจากแนวคิดด้านการคิดรู้ ซึ่งประกอบด้วยความคาดหวังต่อผลลัพธ์ของการปฎิบัติพฤติกรรมจากทฤษฎีการให้คุณค่าการคาดหวังและความคาดหวังในความสามารถของตัวเอง
ลักษณะเฉพาะและประสบการณ์ของบุคคล
1.1 พฤติกรรมที่เกี่ยวข้อง
1.2 ปัจจัยส่วนบุคคล
-ปัจจัยด้านชีวะวิทยา
-ปัจจัยด้านจิตวิทยา
-ปัจจัยด้านสังคมวัฒนธรรม
ความคิดและอารมณ์ต่อพฤติกรรม
2.1 การรับรู้ประโยชน์ของการปฎิบัติพฤติกรรม
2.2 การรับรู้อุปสรรคในการปฏิบัติพฤติกรรม
2.3 การรับรู้ความสามารถของตนเอง
2.4 ความรู้สึกที่มีพฤติกรรม
2.5 อิทธิพลระหว่างบุคคล
2.6 อิทธิพลจากสถานการณ์
พฤติกรรมผลลัพธ์ประกอบด้วย 3 อย่างได้แก่
3.1 ความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติพฤติกรรม
3.2 ความจำเป็นอื่นทางเลือกที่อื่นที่เกิดขึ้น
3.3 พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ
การส่สุขภาพในแต่ละบุคคลนั้นมีเหตุแตกต่างกันพยาบาลควรแนะนำวิธีการที่เหมาะสมสำหรับแต่ละบุคคลส่งเสริมให้เห็นความสำคัญของสุขภาพและความสำคัญของตนเองเสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหาอุปสรรคในการปฎิบัติการส่งเสริมสุขภาพสนับสนุนให้กระทำกิจกรรมนั้นอย่างสม่ำอสมอและยาวนาน
ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤตกิรรมTrans theoretical Model Stage of Change : TTM
หลักกระบวนการช่วยเปลี่ยนแปลง Process of Change
3) การใคร่ครวญผลต่อสังคมรอบข้าง(Social reevaluation)
5) การปลดปล่อยตนเอง (self liberation)
6) การปลดปล่อยสังคม(social Iiberation)
8) บังคับให้ทำสิ่งที่ดีกว่าทางอ้อม (Stimulus control)
9 จงใจใช้แผนกระตุ้น (Contingency management)
10) กัลยาณมิตรChelping relationship)
การปลุกจิตสำนึก (consciousness raising)
การระบายความรู้สึก (Dramatic relief)
การใคร่ครวญผลต่อตนเอง (Self reevaluation)
ให้เรียนรู้สิ่งตรงกันข้าม (Counter conditioning)
ประเด็นที่สำคัญในการใช้เทคนิควิธีการทั้ง 10 น้ีก็คือการเลือกใช้ให้เหมาะกับระดับของกระบวนการ เปลี่ยนแปลงว่าผู้รับบริการอยู่ในระดับใดจะเห็นว่าเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับความรู้หรือปรับทัศนคติมักเหมาะ กับผู้ที่อยู่ในระยะแรกๆหรือผู้ที่ยังไม่ตัดสินใจยังไม่วางแผนในขณะที่เทคนิคที่ช่วยให้พฤติกรรมใหม่คงไว้ มากเหมาะกับผู้ที่อยู่ในระยะที่ต้องการให้ประพฤติ กรรมมีความคงเส้นคงวาหรือต้องการให้เกิดความต่อเนื่อง
พัฒนาขึ้น โดย James Prochaska and Carlo DiClemente ในปลายปีค.ศ.1970’sและต้นปีค.ศ.1980’sท่ี
มหาวิทยาลัย Rhode Island ในขณะท่ีทำการศึกษา พฤติกรรมรมของกลุ่มผู้ป่วยซึ่งอยู่ในระหว่างการเลิกสูบบุหรี่
มีทั้งหมด 6 ขั้นตอน
ขั้นก่อนชั่งใจ
ขั้นชั่งใจ
ขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ
ขั้นปฏิบัติ
ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ
ขั้นยุติพฤติกรรมเดิมอย่างถาวร