Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อมูลทั่วไป - Coggle Diagram
ข้อมูลทั่วไป
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
- เสี่ยงต่อการติดเชื้อ เนื่องจากสุขนิสัยในการขับปัสสาวะไม่ถูกต้อง
-
-
เกณฑ์การประเมินผล
- ไม่มีอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ เช่น มีไข้ ปัสสาวะแสบขัด เป็นต้น
- สุขอนามัยในการดูแลลตนเองของผู้สูงอายุถูกต้อง
กิจการพยาบาล
- แนะนำให้ผู้สูงอายุดูแลความสะอาดของช่องปาก เช่น การการทำความสะอาดบ้วนปาก
- ส่งเสริมสุขอนามัย การทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก สำหรับเพศหญิงให้เช็ดจากด้านหน้าไปด้านหลังและซับให้แห้ง ไม่กลั้นปัสสาวะและอธิบายถึงอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ เช่น มีไข้ ปัสสาวะแสบขัด
- ส่งเสริมความแข็งแรงตึงตัวของกล้ามเนื้อบริเวณอุ้งเชิงกราน และกล้ามเนื้อหน้าท้องโดยการออกกำลังกาย การขมิบก้น (Kegel exercise/ pelvic floor muscle exercises) เพื่อป้องกันการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ การมีปัสสาวะค้างอยู่กระเพาะปัสสาวะจากการไม่มีแรงเบ่งปัสสาวะออกมา การขมิบก้นแต่ละครั้งให้เกร็งค้างไว้ประมาณ 3 วินาที แล้วผ่อนคลาย 3 วินาที ทำสลับกันไป จำนวน 15 ครั้ง นับเป็น 1 ยก สามารถทำได้ทั้งขณะนั่ง นอน ยืน และสามารถทำได้บ่อยครั้งเท่าที่ต้องการ ให้ทำทุกวันต่อเนื่อง
- ส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ ไม่กลั้นปัสสาว: โดยการให้ผู้สูงได้ขับถ่ายในที่ปกปิดมิดชิด เป็นส่วนตัว ให้เวลาในการขับถ่าย ฝึกนิสัยการขับถ่าย ลดสิ่งกระตุ้นที่ทำให้ปัสสาวะไม่ออก ช่วยเหลือในการจัดท่าที่เหมาะสมในการขับถ่าย ทำการกระตุ้นช่วยให้ปัสสาวะในรายที่ปัสสาวะลำบาก เพราะการกลั้นปัสสวะจะทำให้กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะ และกล้ามเนื้อหูรูดยืดขยายมากเกินเป็นสาเหตุของการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
- การจัดหาอุปกรณ์ที่เหมาะสมสำหรับผู้ที่ไม่สามารถลุกเข้าห้องน้ำได้เอง ได้แก่ หม้อนอน (bedpan) สำหรับผู้ป่วยหญิงโถปัสสาวะ (uinal) สำหรับผู้ป่วยที่ลงมาข้างเตียงได้แต่ไม่สามารถลุกเดินเข้าห้องน้ำได้ ผ้าอ้อม (external protective pants)
-
- พร่องกิจวัตรประจำวันลดลง เนื่องจากมีข้อจำกัดในการเคลื่อนไหว
-
-
-
กิจกรรมการพยาบาล
- ประเมินการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน โดยใช้เครื่องมือ ADL และ IADL
- แนะนำผู้ป่วยและสอนญาติดูแลในด้านการเคลื่อนไหวของผู้สูงอายุ เช่น การเคลื่อนไหวการลุกนั่ง และการเสริมสร้างทักษะและการกระตุ้นให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ
- ดูแลเรื่องโภชนาการของผู้สูงอายุ และวิธีการจัดเก็บอย่างสะอาด ภาชนะที่ใส่สะอาด มีฝาชีปิดอย่างมิดชิด
- ดูแลแบบแผนการขับถ่ายของผู้ป่วยสอนวิธีการควบคุมการขับถ่ายทั้งถ่ายปัสสาวะและอุจจาระแนะนำญาติให้ดูแลความสะอาด ความสุขสบายหลังผู้ป่วยขับถ่าย ควรจัดหากระโถนไว้ใกล้ ผู้สูงอายุสามารถใช้งานสะดวก
- ดูแลแบบแผนการพักผ่อนและการนอนหลับของผู้สูงอายุ แนะนำให้นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอแนะนำให้จัดหาที่นอนที่นิ่มและจัดสถานที่ให้ผู้สูงอายุนอนในที่โล่ง อากาศถ่ายเทสะดวก
-
- เกิดภาวะทุพโภชนาการ เนื่องจากรับประทานอาหารเมนูเดิมซ้ำ ๆ และได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ
-
-
เกณฑ์การประเมิน
- BMI อยู่ในเกณฑ์ 18.5-22.9
- คะแนนภาวะทุพโภชนาการอยู่ในช่วง 12-14 คะแนน
กิจกรรมการพยาบาล
- แนะนำให้ผู้สูงอายุดูแลความสะอาดของช่องปาก เช่น การการทำความสะอาดบ้วนปาก
- แนะนำให้ผู้สูงอายุรับประทานอาหารประเภทโปรตีน และใยอาหารที่ย่อยง่าย เช่น โปรตีนจากเนื้อปลาหรือเต้าหู้ เตรียมอาหารให้สุกให้อ่อนนุ่มและ ทำอาหารให้เป็นชิ้นเล็กๆ ใยอาหารจากผลไม้ แอปเปิ้ล องุ่น ชมพู่ แก้วมังกร ฝรั่ง เป็นต้น และควรทำให้เป็นชิ้นเล็กๆ อาจปั่นหรือบดให้ละเอียดก่อนเพื่อง่ายแก่การรับประทาน
- กระตุ้นความอยากอาหารให้กับผู้สูงอายุรับประทานครั้งละน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง เช่น อาหารอุ่นๆ มีสีสันน่ารับประทาน ทั้งอาหารและภาชนะที่ใส่ และควรเป็นอาหารที่ผู้สูงอายุชอบรับประทาน เครื่องดื่มควรให้ชนิดที่ให้พลังงานแก่ผู้สูงอายุ ถ้าผู้สูงอายุรับประทานนมได้อาจจะให้เป็นไอศกรีม นม หรืออาหารเสริมแต่ถ้าผู้สูงอายุไม่ชอบรับประทานนม อาจให้น้ำเต้าหู้ น้ำผลไม้น้ำหวานแทนได้ (โดยคำนึงถึงโรคที่เป็นอยู่) และแนะนำให้ผู้ดูแลให้เวลาในการรับประทานอาหารแก่ผู้สูงอายุ
- แนะนำให้ผู้ดูแลจัดอาหารสำหรับผู้สูงอายุให้มีจำนวนมื้อเพิ่มขึ้นเป็น 5-6 มื้อ/วัน เนื่องจากการเคี้ยวและความอยากอาหารลดลง และปริมาณน้ำย่อยภายในกระเพาะลดลง
- แนะนำให้ผู้สูงอายุลด และหลีกเลี่ยงขนม และของหวานเพราะจะทำให้ความอยากอาหารลดลง
- แนะนำและดูแลให้ผู้สูงอายุดื่มน้ำ อย่างเพียงพออย่างน้อย 1,500-2,000 มล. ต่อวัน
- ลดการดื่มเหล้าและสูบบุหรี่ รวมถึงชาและกาแฟ
- แนะนำให้ตรวจสุขภาพช่องปากอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
- รับประทานยาให้ตรงตามแพทย์สั่ง โดยผู้สูงอายุรายนี้ได้รับยา Vit B complex 1 เม็ด หลังอาหารเช้า และสังเกตอาการข้างเคียงของการรับประทานยา เช่น ปวดท้อง ท้องเสีย รู้สึกวูบวาบได้เล็กน้อย
-
ตรวจร่างกายที่ผิดปกติ
กระดูกและกล้ามเนื้อ
-
แขนและขาลีบเล็ก ไม่มีบาดแผล ไม่มีอาการปวดแดงร้อนตาข้อต่างๆ กระดูกหักบริเวณข้อสะโพกซ้าย หัวเข่าด้านซ้ายเหยียดได้ไม่สุดเคลื่อนไหวได้ไม่ดี
สามารถช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง Motor power grade 4 ทั้ง 4 รยางค์
ทฤษฎีการเชื่อมตามขวาง (Cross Linkage Theory) เนื่องจากเส้นยคอลลาเจนบริเวณข้อมีการเชื่อตามขวางเพิ่มมากขึ้น ทำให้ข้อต่อกระดูกมีความยืดหยุ่นลดลง
ส่งผลให้การเคลื่อนไหวข้อลดลงและเกิดการยึดติด
ทฤษฎีความเสื่อมโทรม (Wear and Tear Theory)เนื่องจากมีการสลายแคลเชียมจากกระดูกเพิ่มขึ้นและมีการสร้างแคลเชียมจากกระดูกลดลั่งทำให้กระดูกแตกหักง่าย
และมีจำนวนมวลของกล้ามเนื้อและขนาดของเส้นใยกล้ามเนื้อลดลง
ฟัน
-
- ทฤษฎีความเสื่อมโทรม (Wear and Tear Theory) สารเคลือบฟันลดลง
แคลเชียมฟอสเฟตและแคลเชียมคาร์บอเนตจึงลดลงด้วยส่งผลให้ฟันถูกทำลายและผุกร่อน การเคี้ยวอาหารไม่ละเอียดทำให้ขนาดของอาหารมีขนาด ใหญ่ การเคลื่อนไหวของอาหารลดลง
ต่อมน้ำลายฝอ ทำให้กลืนลำบากการ์บีบรูดอาหารลดลง การรับรสลดลง
กล้ามเนื้อเรียบในหลอดอาหารเคลื่นไหวได้ไม่ดี รูดหย่อนปิดไม่สนิททำให้เรอได้ กล้ามเนื้อกระเพราะอาหารบีบตัวได้ไม่ดี
การหลั่งกรดลดลง การดูดซึมวิตามินและแร่ธาตุลดลงน
นางประคอง ศิริโสภณ 86 ปี
หญิงไทยวัยสูงอายุ รูปร่างผอมบาง แต่งตัวโทรม ผมสั้น ถามตอบรู้เรื่อง ใช้การถัดก้นแทนการเดิน ส่วนสูง 150 ซม. น้ำหนัก 39 กก. BMI 17.33kg/m2 สัญญาณชีพ T=36.5 PR=72/m RR=20/m BP 140/60mmHg
สรุปปัญหา
หญิงไทยวัยสูงอายุ รูปร่างผอมบาง แต่งตัวโทรม ผมสั้น ถามตอบรู้เรื่อง ใช้การถัดก้นแทนการเดิน ส่วนสูง 150 ซม. น้ำหนัก 39 กก. BMI 17.33kg/m2 สัญญาณชีพ T=36.5 PR=72/m RR=20/m BP 140/60mmHg
พบปัญหาเรื่องการเคี้ยวข้าว เนื่องจากมีฟันน้อยทำให้เคี้ยวไม่ค่อยละเอียด และปัญหาด้านการเดิน มีปัญหาข้อยึดติดทำให้เดินได้ลำบาก