Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 8 แนวคิดสร้างสรรค์ในการบริหารและการสื่อสารเพื่อการส่งเสริมและพัฒน…
หน่วยที่ 8 แนวคิดสร้างสรรค์ในการบริหารและการสื่อสารเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์
ความหมาย
ความคิดสร้างสรรค์ หมายถึง การขยายขอบเขตความคิดออกไปจากกรอบความคิดเดิมที่มีอยู่ สู่ความคิดใหม่ ๆ ที่ไม่เคยมีมาก่อน
องค์ประกอบ
ความคิดริเริ่ม
ความคิดคล่องตัว/ความพรั่งพรูในการคิด
ความคิดยืดหยุ่น/ความยืดหยุ่นในการคิด
ความคิดละเอียดละออ
ลักษณะความคิดสร้างสรรค์
ลักษณะทางกระบวนการ
ความไวต่อปัญหา และสามารถแก้ไขปัญหาอย่างมีขั้นตอน เป็นระบบ
ลักษณะของบุคคล
บุคคลที่มีความอยากรู้ อยากเห็น กระตือรือร้น มีความคิดริเริ่ม กล้าแสดงออก
ลักษณะทางผลิตผล
คุณภาพของผลงานที่เกิดขึ้น ที่เป็นผลจาก
ความพอใจของตน
การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
ทักษะในการคิดสร้างสรรค์
การคิดคล่องและคิดหลากหลาย
การคิดวิเคราะห์และคิดผสมผสาน
การคิดริเริ่ม
การคิดละเอียดชัดเจน
การคิดอย่างมีเหตุผล
การคิดกว้างและรอบคอบ
การคิดไกล
การคิดลึกซึ้ง
การคิดดี คิดถูกทาง
องค์ประกอบในการพัฒนาการคิดสร้างสรรค์
การอยู่คนเดียวตามลำพัง
การอยู่เฉย
การฝันกลางวัน
การระลึกถึงความขัดแย้งในอดีตที่ก่อให้เกิดการบาดเจ็บทางจิตใจ
ความเชื่ออะไรง่ายๆ
ความตื่นตัว และระเบียบวินัย
กระบวนการพัฒนาการคิดสร้างสรรค์
ความคิดของมนุษย์
การรู้และเข้าใจ
การจำ
การคิดแบบอเนกนัย
การคิดแบบเอกนัย
การประเมินค่า
กระบวนการของการคิดสร้างสรรค์
การเตรียมการ
การฟักตัว/ความคิดคุกรุ่น
การประจักษ์/ความคิดกระจ่างชัด
การพิสูจน์ให้เห็นจริง/การทดสอบความคิด
เทคนิคการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
กล้าที่จะริเริ่ม
สร้างความคิดใหม่
ระดมพลังสมอง
คิดจากสิ่งที่คุ้นเคยไปสู่สิ่งแปลกใหม่
การบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรอย่างสร้างสรรค์
ความสำคัญของความคิดสร้างสรรค์ในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ด้านสังคมเกษตรกรรม
เป็นสิ่งสำคัญในการช่วยแก้ไขปัญหาให้แก่เกษตรกร
ทำให้เกิดนวัตกรรมทางการเกษตร
ทำให้เกษตรกรเป้าหมายเกิดการเปลี่ยนแปลงในแนวทางการทำการเกษตรแบบใหม่ ๆ
สังคมเกษตรกรรมมีความก้าวหน้า ทันสมัย มั่นคง
ด้านนักบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ช่วยในการพัฒนาตนเอง พัฒนาสมองให้เฉลียวฉลาดและประสบความสำเร็จในชีวิต
ทำให้ชีวิตไม่ซ้ำซากจำเจไร้เป้าหมาย
สร้างความเชื่อมั่น น่าเคารพนับถือ และสร้างความเชื่อถือให้เกิดขึ้น
ยกระดับความสามารถของตนเองและก้าวหน้าในอาชีพการงาน
การบริหารองค์กรส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรอย่างสร้างสรรค์
การบริหารให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
กฎข้อที่ 1 ทักษะในการพัฒนาตนเองเพื่อการบรรลุเป้าหมาย
กฎข้อที่ 2 โลกทัศน์
กฎข้อที่ 3 การสร้างวิสัยทัศน์ร่วม
กฎข้อที่ 4 การเรียนรู้ของทีม
กฎข้อที่ 5 ความคิดเชิงระบบ
การบริหารให้เป็นองค์กรแห่งความสุข
Happy Body (การมีสุขภาพที่ดี)
Happy Heart (มีน้ำใจ)
Happy Relax (ความผ่อนคลาย)
Happy Brain (หาความรู้ การอบรม)
Happy Soul (สงบใจจิตใจ รู้จักรักผู้อื่น)
Happy Money (ปลอดหนี้)
Happy Family (ให้ความสำคัญกับครอบครัว)
Happy Society (สังคมดี)
การแก้ปัญหาและการสร้างบรรยากาศการทำงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรอย่างสร้างสรรค์
การแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
ขั้นตอนที่ 1 การเข้าถึงปัญหา
ขั้นตอนที่ 2 คิดวิธีการแก้ปัญหา
ขั้นตอนที่ 3 การเลือกและเตรียมการ
ขั้นตอนที่ 4 การวางแผนการแก้ปัญหา
ขั้นตอนที่ 5 การลงมือปฏิบัติ
การสร้างบรรยากาศในการทำงาน
สื่อสารอย่างชัดเจนถึงความเชื่อมโยงระหว่างผลการปฏิบัติงานและผลตอบแทนของผู้ปฏิบัติงานในองค์กร
สร้างความมั่นใจในการประเมินผลการปฏิบัติงาน
ขจัดอุปสรรคในการทำงาน
เลือกคนให้เหมาะสมกับงาน
ติดตามและพัฒนาบรรยากาศในการทำงาน
มุ่งเน้นถึงผลตอบแทนที่ไม่ได้อยู่แค่ในรูปของเงินเท่านั้น
สร้างความรู้สึกปลดภัย ไว้วางใจในการทำงานของผู้ปฏิบัติงานในทุกระดับ
สร้างความต่อเนื่องในกิจกรรมที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์
เปิดโอกาสให้สมาชิกในองค์กรได้สำรวจ ค้นคว้า เรียนรู้ให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
ผู้บริหารควรส่งเสริม สนับสนุน กิจกรรมที่ทำให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวยแก่การเกิดความคิดสร้างสรรค์
ยอมรับ ให้เกียรติ และให้ความสำคัญแก่ผู้เสนอความคิดสร้างสรรค์
สร้างเครือข่ายชุมชนนักคิดสร้างสรรค์เพื่อเพิ่มพูนทักษะ
ส่งเสริมและเผยแพร่เทคนิคการเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์
การนำความคิดสร้างสรรค์มาใช้เพื่อการสื่อสารในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
องค์ประกอบของการสื่อสารในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
องค์ประกอบการสื่อสารระหว่างบุคคล
ผู้ส่งสาร
ผู้รับสาร
สาร
ช่องทางการสื่อสาร
การเข้ารหัสและการถอดรหัส
การป้อนกลับ
ผลของการสื่อสาร
สิ่งรบกวน/อุปสรรคการสื่อสาร
กรอบประสบการณ์ร่วม
บริบททางการสื่อสาร
กระบวนการสื่อสาร
แบบทางเดียว
แบบสองทาง
องค์ประกอบการสื่อสารมวลชน
ผู้ส่งสาร
เป็นองค์กรสื่อสารมวลชนที่มีความสลับซับซ้อน มีการลงทุนในการผลิต และถ่ายทอดข่าวสารจำนวนมาก
มีละกษณะเด่น 3 ประการ
มีจำนวนมาก ข่าวสารที่ส่งออกมีอายุไม่ยั่งยืน ผู้รับสารได้รับสารจำนวนมากพร้อม ๆ กัน
ช่องทางสื่อ
สื่อมวลชน
ผู้รับสาร
มีจำนวนมาก และอาจไม่ได้เป็นที่รู้จักของผู้ส่งสาร
บริบทของการสื่อสาร
มิติทางสังคม
ผู้เฝ้าประตูข่าวสาร
ทำหน้าที่ตัดเลือกข่าวสาร
การสื่อสารเป้าหมายการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ข้อความที่สื่อต้องง่ายแต่มีความหมายลึกซึ้ง
การสื่อสารที่ดีจึงควรสื่อด้วยข้อความที่เข้าใจง่าย
ความเร้าใจของเป้าหมาย
แรงจูงใจ
ความฮึกเหิม
แนวทางในการบรรลุเป้าหมมาย
ลงทุนเพื่อไปถึงเป้าหมาย
การสร้างสรรค์สื่อเพื่อการสื่อสารในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การเลือกสื่อเพื่อการสื่อสาร
สื่อบุคคล
สื่อกิจกรรม
สื่อวิทยุโทรทัศน์
สื่อวิทยุกระจายเสียง
สื่อสิ่งพิมพ์
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อสังคม
การสร้างสรรค์สื่อเพื่อการสื่อสาร
เป้าหมายในการบริหารการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย
การสำรวจปัยหาและ/หรือความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย
การเตรียมเนื้อหาและข่าวสาร
การกำหนดเป้าหมายและจุดมุ่งหมาย
การเลือกและนำเสนอสื่อ
ดำเนินการผลิตสื่อ
การทดลองใช้สื่อกับกลุ่มเป้าหมาย
การปรับปรุงสื่อที่พัฒนาขึ้น
การเผยเพร่สื่อ