Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ - Coggle Diagram
บทที่ 2
ทฤษฎีในการสร้างเสริมสุขภาพ
แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ
(Health Belief Model : HBM)
แนวคิด กำรรับรู้ของบุคคลเป็นตัวบ่งชี้พฤติกรรมโดยบุคคลจะกระท ำหรือเข้ำใกล้กับสิ่งที่ตนพอใจ และ
คิดว่ำสิ่งนั้นจะก่อให้เกิดผลดีแก่ตน
ปัจจัยร่วม (Modifying Factors) เป็นปัจจัยที่ไม่มีผลโดยตรงต่อพฤติกรรมสุขภำพ แต่เป็นปัจจัยพื้นฐานที่จะส่งผลไปถึงกำรรับรู้และการปฏิบัติ ปัจจัยด้านประชากร ปัจจัยด้ำนสังคมจิตวิทยา ปัจจัยโครงสร้างพื้นฐาน
องค์ประกอบของแบบจำลองความเชื่อด้านสุขภาพ
การรับรู้ต่อโอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค
การรับรู้ความรุนแรงของโรค
การรับรู้ประโยชน์ที่จะได้รับและค่าใช้จ่าย
แรงจูงใจด้านสุขภาพ
ปัจจัยร่วม
การนำเอาแบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพมาใช้ในกำรจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมป้องกันโรค
กำรตรวจเต้ำนมด้วยตนเอง กำรใช้ถุงยำงอนามัย ได้ผลดีทั้งในระดับบุคคลชุมชน ตอบสนองต่อกำรรับรู้เฉพาะด้านที่เป็นปัญหาของผู้รับบริการเฉพาะเจาะจง
PRECEDE-PROCEED Model
PRECEDE – PROCEED Model เป็นเครื่องมือสำคัญของนักสุขศึกษำที่นำมำประยุกต์ใช้วางแผน และประเมินผลโครงการส่งเสริมสุขภำพ และสุขศึกษาได้รับกำรพัฒนำขึ้นมำโดย นักพฤติกรรมศำสตร์และนักสุขศึกษา 2 ท่าน คือLawrence W. Green และ Matthew W. Kruete
P: Predisposing (แรงจูงใจ)
R: Reinforcing (ทาให้แข็งแกร่งขึ้น)
E: Enabling (ทาให้เป็นไปได้)
C: Causes (ทาให้เกิด)
E: Educational (การศึกษา)
D: Diagnosis (การหาสาเหต) ุ
E: Evaluation (การประเมินผล)
PRECEDE-PROCEED Model
ขั้นตอนที่ 1 การวิเคราะห์ทางสังคม (Phase1 : Social Assessment)
ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์ทางระบาดวิทยา (Phase 2 : Epidemiological
Assessment)
ั้นตอนที่ 3 การวิเคราะห์ด้านพฤติกรรม (Phase 3 : Behavioral Assessment)
ัขั้นตอนที่ 4 การวิเคราะห์ทางการศึกษา (Phase 4 : Educational Assessment)
ปัจจัยน า (Predisposing Factors)
ปัจจัยเอื้อ (Enabling Factors)
ปัจจัยเสริม (Reinforcing Factors)
ขั้นตอนที่ 5 การวิเคราะห์ทางการบริหาร (Phase 5 : Administrative and
Policy Assessment)
ขั้นตอนที่ 6 การปฏิบัติการ (Phase 6 : Implementation)
ขั้นตอนที่ 7 การประเมินกระบวนการ (Phase 7 : Process Evaluation)
ขั้นตอนที่ 8 การประเมินผลกระทบ (Phase 8 : Impact Evaluation)
ขั้นตอนที่ 9 การประเมินผลลัพธ์ (Phase 9 : Outcome Evaluation)
เป็นโมเดลที่นำมาประยุกต์ใช้ในการวางแผนและประเมินผลโครงการส่งเสริมสุขภาพและสุขศึกษาโดยเฉพาะ PRECEDE Model ใช้เป็นกรอบในกำรวำงแผนสุขศึกษำและกำร มีส่วนร่วมของกลุ่มเป้าหมายที่จะนำไปสู่การมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ต่อไป
แบบจำลองการส่งเสริมสุขภาพ
(Health Promotion Model : HPM)
ในปี ค .ศ.1975 เพนเดอร์ (Pender) ได้พัฒนาแบบจำลองการป้องกันสุขภาพที่
กล่าวถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกระบวนกำรตัดสินใจและการปฏิบัติของปัจเจกบุคคลในกำร
ป้องกันโรคจุดเน้นของบทบำทกำรพยาบาลลตามแนวคิดของเพนเดอร์ในสมัยนั้นเน้นที่การ
ป้องกันและคงไว้ซึ่งสุขภาพของสาธารณชนเพนเดอร์จึงเสนอแบบจำลองกำรส่งเสริมสุขภำพในปี ค.ศ.1982 และมีกำรปรับปรุงแบบจำลองเป็นระยะซึ่งแบบจำลองสุดท้ายในปี ค.ศ. 2006
ข้อตกลงเบื้องต้นของแบบจำลอง
บุคคลแสวงหาภาวการณ์ของชีวิตที่สร้างสรรค์โดยการแสดงความสำมารถด้านสุขภาพที่มี
เอกลักษณ์เฉพาะตน
บุคคลมีความสามารถในการสะท้อนการตระหนักรู้ในตนเองรวมทั้งความสามารถในการประเมิน
สมรรถนะตนเอง
บุคคลให้คุณค่าแก่การเจริญเติบโตในทิศทางบวกและพยายามที่จะบรรลุความสำเร็จในการยอมรับความสมดุลระหว่างกำรเปลี่ยนแปลงกับการมั่นคง
บุคคลแสวงหาการควบคุมพฤติกรรมของตนเอง
บุคคลซึ่งประกอบด้วยกำย จิต สังคม มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม รวมทั้งมีกำรเปลี่ยนแปลง
สิ่งแวดล้อมและควำมเป็นอยู่อย่ำงต่อเนื่อง
การริเริ่มด้วยตนเองในกำรสร้ำงแบบแผนความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อมเป็นสิ่งจำเป็น
ในกำรเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
บุคลากรด้านสุขภาพเป็นส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อมระหว่างบุคคลที่มีอิทธิพลต่อ บุคคลตลอดช่วง
ชีวิต
มโนทัศน์หลักของแบบจำลอง
ลักษณะเฉพาะและประสบการณ์ของบุคคล (Individual Characteristics and Experiences) 1.1 พฤติกรรมที่เกี่ยวข้อง (Prior related behavior) 1.2 ปัจจัยส่วนบุคคล (Personal Factors)
ปัจจัยด้านชีววิทยา 2. ปัจจัยด้านจิตวิทยา 3. ปัจจัยด้านสังคมวัฒนธรรม
ความคิดและอารมณ์ต่อพฤติกรรม (Behavior-Specific Cognition and Affect) 2.1 การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรม (Perceived Benefits of Action) 2.2 การรับรู้อุปสรรคในการปฏิบัติพฤติกรรม (Perceived Barriers to Action) 2.3 การรับรู้ความสามารถของตนเอง (PerceivedSelf-Ef ficacy) 2.4 ความรู้สึกที่มีต่อพฤติกรรม (Activity-Related Affect) 2.5 อิทธิพลระหว่างบุคคล (Interpersonal Influences) 2.6 อิทธิพลจากสถานการณ์ (Situational Influences)3. พฤติกรรมผลลัพธ์ (Behavioral Outcome) ประกอบด้วย 3 อย่าง ได้แก่ 3.1 ความมุ่งมั่นที่จะปฏิบัติพฤติกรรม (Commitment to a Plan of Actions) 3.2 ความจ าเป็นอื่นและทางเลือกอื่นที่เกิดขึ้น (Immediate Competing Demands
and Preferences) 3.3 พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ (Health-Promoting Behavior)
ทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
Trans theoretical Model Stage of Change : TTM
ีทั้งหมด 6 ขั้นตอน คือ
ขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation stage)
ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
ขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ (Preparation stage / Determination)
ขั้นปฏิบัติ (Action stage)
ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
ขั้นยุติพฤติกรรมเดิมอย่างถาวร (Termination)
หลักกระบวนกำรช่วยเปลี่ยนแปลง Process of Change
การปลุกจิตสำนึก (consciousness raising)
เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation
stage) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
การระบายความรู้สึก (Dramatic relief)
เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation
stage) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
การใคร่ครวญผลต่อสังคมรอบข้าง (social reevaluation)
เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นก่อนชั่งใจ (Pre-contemplation
stage) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นชั่งใจ (Contemplation stage)
การใคร่ครวญผลต่อตนเอง (self reevaluation)
เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นชั่งใจ (Contemplation stage) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ (Preparation stage
/Determination)
การปลดปล่อยตนเอง (self liberation) เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นเตรียมพร้อมที่จะปฏิบัติ (Preparationstage / Determination) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นปฏิบัติ (Action
การปลดปล่อยสังคม (social liberation)
เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
ให้เรียนรู้สิ่งตรงกันข้าม (counterconditioning)
เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
บังคับให้ทาสิ่งที่ดีกว่าทางอ้อม (stimulus control)
เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
จงใจใช้แผนกระตุ้น (contingency management)
เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)
กัลยาณมิตร (helping relationship)
เทคนิคนี้เหมาะสำหรับผู้ที่อยู่ในขั้นปฏิบัติ (Action) เพื่อเลื่อนขึ้นไปสู่ขั้นคงไว้ซึ่งพฤติกรรมที่ต้องการ (Maintenance)