Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบทางเดินอาหาร, นศพต.ศรสวรรค์ กุลศรี เลขที่ 56 - Coggle Diagram
ระบบทางเดินอาหาร
-
-
CA Colon มะเร็งลำไส้ใหญ่
สาเหตุ
- พันธุกรรม ทั้งชนิดถ่ายทอดและไม่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม ซึ่งทำให้เกิดการ
อักเสบของลำไส้ใหญ่หรือเกิดเป็นก้อนเนื้อโพลิบ (Polyp) ของลำไส้ใหญ่
- อาหาร การรับประทานอาหารไขมันสูงหรืออาหารที่ขาดใยอาหารทำให้มีปัจจัยเสี่ยงต่อมะเร็งลำไส้ใหญ่มากกว่า
- การขาดสารอาหารบางชนิดอาจเป็นปัจจัยให้เกิดมะเร็งในลำไส้ใหญ่ได้สูงกว่าผู้ป่วยได้รับสารอาหารครบถ้วน
- การรับประทานผัก ผลไม้ ช่วยลดปัจจัยเสี่ยงของการเกิดมะเร็ง ลำไส้ใหญ่ เมื่อเทียบกับการรับประทานกลุ่มอื่น
- การควบคุมน้ำหนักและการออกกำลังกายที่พอเหมาะ อาจลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้ระดับหนึ่ง
- การดื่มสุราหรือเบียร์ อาจเป็นปัจจัยเสี่ยงมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้
- การสูบบุหรี่ เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่
การพยาบาล
- การทำความสะอาดลำไส้เปิดหน้าท้องและผิวหนังรอบๆ
-
- การเปลี่ยนถุงรองรับอุจจาระ
-
-
การวินิจฉัย
Fecal occult blood test (FOBT) การตรวจอุจจาระเพื่อหาเม็ดเลือดแดงที่ปนอยู่ในอุจจาระ (Occult Blood) ที่มองไม่เห็นได้ด้วยตาเปล่า
-
-
CT scan /with double contrast barium enema: DCBE โดยใช้แป้งแบเรียมสวนเข้าทางทวารหนัก ประสิทธิภาพในการตรวจนี้ไม่ชัดเจน ความไวในการตรวจน้อยกว่าการส่องกล้องตรวจลำไส้ใหญ่
-
-
การตรวจเลือดวัดระดับโปรตีน CEA (Carcinoembryonic antigen) โปรตีนชนิดหนึ่งที่พบในร่างกาย สามารถหาได้จากการตรวจเลือด เพื่อวินิจฉัยโรคมะเร็ง โดยเฉพาะมะเร็งลำไส้ใหญ่ ค่าปกติ 2.5-5 μg/L ถ้ามากกว่า 10 μg/L มีความเสี่ยง
Cirrhosis โรคตับแข็ง
การรักษา
-
-
-
การพักผ่อนอย่างเพียงพอ ควรได้อาหารครบถ้วน ควรหลีกเลี่ยงสารพิษต่อตับ เช่น สุรายาที่มีผลเสียต่อตับ เช่น พาราเซตามอล
อาการบวม ขา หรือท้องมานควรลดการรับประทานเกลือ อาหารดองเค็ม น้ำปลา ซีอิ๊ว ในรายบวมมาก แพทย์จะสั่งยาขับปัสสาวะ เพื่อลดอาการบวม
-
การพยาบาล
- ป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคตับแข็ง
อธิบายปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคตับแข็ง เพื่อหลีกเลี่ยง เช่น การดื่มสุรา ลดอาหารหวานและไขมันสูง ควบคุมน้ำหนัก
-
-
-
-
แนะนำอาหารประเภท branch chain amino acid เพื่อลดอาการผิดปกติทางสมอง ได้แก่ ไข่ขาว โปรตีนจากสัตว์ ผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลือง
- ดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคตับแข็ง
-
2.2 ภาวะท้องมาน
-
-
-
-
เฝ้าระวังระดับ electrolyte โดยเฉพาะ K, Na
-
2.4 อาการผิดปกติทางสมอง
ยา lactulose ลดการสร้างแอมโมเนียของแบคทีเรียในระบบทางเดินอาหาร สอบถามอาการขับถ่าย รับประทานอาหารที่มีกากใยสูง โยเกิร์ตและนมเปรี้ยว
-
-
-
2.5 ปัญหาด้านโภชนาการ
ดูแลให้ได้รับพลังงานจากอาหาร 35-45 กิโลแคลอรี่/กิโลกรัม/วัน การได้รับพลังงานอย่างเพียงพอจะช่วยลดการสร้างพลังงานโดยการสลายกล้ามเนื้อและไขมัน
ดูแลให้ได้รับอาหารมื้อละน้อย ๆ แต่บ่อยครั้ง อาจจัดตารางเป็น มื้อหลัก 3 มื้อ ในเวลา8.00 น. 12.00 น. 18.00 น. และเพิ่มอาหารว่างอีก 3 มื้อ คือ 10.00 น. 14.00 น. และ 20.00 น. โดยมื้อก่อนนอน ควรเป็นอาหารเสริมประเภทโปรตีน
การวินิจฉัย
การตรวจเลือด ค่าสารบิลิรูบิน (Bilirubin) ที่เกิดจากการแตกตัวของเซลล์เม็ดเลือดแดงหรือเอนไซม์บางชนิด ไปจนถึงการทดสอบหาโรคไวรัสตับอักเสบ บี และ ซี ด้วยการวัดเอนไซม์ 2 ตัว คือ SGOT (AST) และ SGPT(ALT) ค่าครีเอตินิน (Creatinine) ซึ่งช่วยวัดค่าการทำงานของไตว่าอยู่ในระดับไหน
-
การวินิจฉัยด้วยภาพทางการแพทย์ ได้แก่ อัลตร้าซาวด์ เอ๊กซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT scan) การตรวจด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) ซึ่งอาจรวมถึงการตรวจพังผืดตับจากเครื่อง MRI (MR Elastography; MRE) สามารถให้ข้อมูลรูปร่าง และความยืดหยุ่นของตับ เพื่อดูลักษณะของตับแข็ง
การตรวจวัดปริมาณพังผืดในตับ (Transient elastography; Fibroscan) เป็นเครื่องมือสำหรับการตรวจวัดระดับความแข็งของตับซึ่งสะท้อนถึงปริมาณการสะสมของพังผืดในตับ
-