Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบทางเดินอาหาร, สารพิษเหล่านี้พบได้จากการรับประทานของปิ้งย่างไหม้เกรียม…
ระบบทางเดินอาหาร
CA Esophagus&CA stomach
-
สาเหตุ
-
-
-
-
-
CA Esophagus
-
-
การพยาบาล
-
ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา สังเกตุอาการแสดงภาะโปตัสเซียมต่ำ เช่น ท้องอืด กล้ามเนื้ออ่อนแรง
-
ประเมินความรู้ ความเข้าใจ ความพร้อมปฏิบัติตัวของผู้ป่วยและญาติ ให้ความรู้เกี่ยวโรค และวิธีรับมือกับการปฏิบัติตว
-
-
-
CA colon
สาเหตุ
การรับประทานอาหารที่มีเส้นใยอาหารต่ำหรืออาหารที่มีปริมาณแคลเซียมน้อย ทำให้เกิดอาการท้องผูกหรือท้องเสียบ่อย เป็นเวลานาน
-
-
เส้นเลือดไปเลี้ยงบริเวณลำไส้เกิดการเสื่อมสมรรถภาพ สูญเสียความหยืดหยุ่นไป ทำให้เลือดไม่สามารถเข้าไปเลี้ยงที่บริเวณลำไส้ได้อย่างเพียงพอ
-
-
การวินิจฉัย
-
การใช้นิ้วตรวจทางทวารหนักร่วมกับส่องกล้องในลำไส้ โดยใช้กล้อง Protoscopeเป็นแบบกล้องสั้น เพื่อหาก้อน ในลำไส้ บางกรณีอาจใช้ colonoscopeเป็นกล้องแบบยาว เพื่อเช็คก้อนในลำไส้
การX-ray โดยการใส่สารทึบรังสีเข้าไปในลำไส้(barium enema) เมื่อพบก้อนจะทำการตัดชิ้นเนื้อบางส่วนเพื่อตรวจสอบโดยใช้กล้องจุลทรรศน์เพื่อดูว่าก้อนชนิดดีหรือร้าย
-
-
-
-
-
Cirrhosis
-
-
การพยาบาล
-
-
-
การจำกัด น้ำดื่ม, โซเดียม หลีกเลี่ยงการรับประทานของทอดมัน และปิ้งย่าง
-
-
Billroth I&II
Billroth Iคือเป็นการผ่าตัดส่วนปลายของกระเพาะอาหาร รวมทั้ง antrum ออก แล้วเอากระเพาะอาหารที่เหลือไปต่อกับ duodenum
-
การดูแลก่อนและหลังผ่าตัด
หลังผ่าตัด
ให้รับประทารอาหารโปรตีน ไขมันสูง low carbohydrate รับประทานอาหารแห้ง ไม่ควรรับประทานอาหารเหลวปนแข็งพร้อมกัน ไม่ดื่มน้ำหลังอาหารปริมาณมาก
-
-
Billroth II คือการผ่าตัดกระเพาะอาหารส่วนปลายรวมทั้ง antrum ออก แล้วเอากระเพาะอาหารส่วนใหญ่ที่เหลือไปต่อกับส่วนต้นของ jejunum
-
-
การดูแลก่อนและหลังผ่าตัด
หลังผ่าตัด
การฝึกหายใจโดยเน้นขยายของทรวงอกส่วนล่าง
โดยนำมือมาจับที่ชายโครงทั้งสองข้าง หายใจเข้าชายโครงบานออก หายใจออกชายโคครงยุบ
การฝึกหายใจโดยใช้กระบังลมโดยนำมือทั้งสองข้างวางไว้ที่หน้าท้อง หายใจเข้าทางจมูกท้องป่องออก หายใจออกเป่าลมออกทางปากยาวๆ
การฝึกการไอและ huffing เพื่อระบายเสมหะ โดยการนั่งกอดหมอนไว้ที่ท้อง ขณะไอให้กอดหมอนและโน้มตัวไปข้างหน้า
-
-
-
-
สารพิษเหล่านี้พบได้จากการรับประทานของปิ้งย่างไหม้เกรียม เขม่าดำ เกิดจากความร้อนทำปฏิกิริยาโดยตรงกับไขมันในเนื้อสัตว์ จนทำให้เกิดควันที่มีพิษ หากสะสมในร่างกายนานๆก็จะเสี่ยงเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่
พบในของทอดหรืออบด้วยความร้อนสูง เช่น มันฝรั่งทอด ขนมปังกรอบ และบิสกิตโดยเฉพาะอาหารที่ทอดด้วยน้ำมันที่ถูกใช้มาเกิน2ครั้ง ซึ่งน้ำมันเกิดการแตกตัวของน้ำมันที่เสื่อมสภาพ
-
เป็นกล้องชนิดยาวโค้งงอได้ ส่องเข้าไปในทางทวารหนักเพื่อตรวจพยาธิสภาพในลำไส้ใหญ่ตั้งแต่ส่วนปลายถึงส่วนต้น และยังใช่อุปกรณ์เพิ่มเพื่อตัดชิ้นเนื้อส่งตรวจ เป็นตรวจที่แน่นอนมากที่สุดโดยเฉพาะหา adenomaและ มะเร็งขนาดเล็ก
โดยนำชิ้นเนื้อที่ตัดจากการส่องกล้องจุลทรรศน์โดยพยาธิแพทย์ เพื่อตรวจหาเซลล์มะเร็งและลักษณะเซลล์ที่ผิดปกติ
เป็นเทคนิคทางเดินอาหารส่วนล่าง โดยการนำสารทึบแสงเข้าไปเคลือบตามลำไส้ผ่านทางทวารหนักเพื่อตรวจดูความผิดปกติ ซึ่งความไวในการตรวจจับความผิดปกติมากถึงร้อยละ70 ถ้าพบผิดปกติ ต้องส่องกล้องตรวจเพิ่มเติมเพื่อชิ้นเนื้อมาตรวจ
เป็นการรักษาหลักของมะเร็งลำไส้ใหญ่
การตัดลำไส้ช่วงที่เป็นมะเร็งออกทั้งหมด ร่วมกับเนื้อดีบางส่วนให้มากพออย่างน้อยให้เลยส่วนที่เป็นมะเร็งข้างละ 5 ซม
มะเร็งมีการกระจานแทรกไปในเนื้อเยื่อข้างเคียงมาตากจุดเริ่มต้น เมื่อตัดออกจึงต้องตัดออกกว้าง ถ้าเป็นกล้ามเนื้อต้องตัดออกทั้งมัดจากตำแหน่งจุดเริ่มต้นถึงจุดกระจาย แต่ต้องคำนึงความพิการที่จะตามมาด้วย
ใช้ในรายเฉพาะของผู้ป่วยที่มะเร็งอยู่ในลำไส้ การกระจายของเซลล์มะเร็งเข้าไปในผิวหนังส่วนข้างเคียงเพียงไม่กี่มิลลิเมตรจากขอบจุดเริ่มต้นจึงไม่ต้องตัดห่างมาก
ใช้ในรายที่โรคมะเร็งจุดเริ่มต้นอยู่ใกล้กับต่อมน้ำเหลืองแล้วโดยที่บอกไม่ได้จากการคลำ ซึ่งจะมีผลช่วยในการผ่าตัดรักษาดีขึ้น
การรักษาโดยการฉายรังสีเป็นการรักษาลดการกลับมาของเซลล์มะเร็ง ซึ่งไม่ใช่วิธีหลักในการรักษาแต่ช่วยให้การผ่าตัดนั้นง่ายขึ้น จะฉายช่วงก่อนผ่าตัด และหลังผ่าตัด ระยะเวลาการรักษา5-6สัปดาห์ โดยฉายวันละครั้ง ติดต่อกัน
ใช้ในการรักษาประกอบการผ่าตัด เพื่อลดการกำเริบของมะเร็งและโอกาสรอดชีวิตมีมากขึ้น แต่การบำบัดเคมีไม่ได้ช่วยให้มะเร็งหายไป แต่เป็นการชะลอการเกิดใหม่
ศึกษาพื้นฐานด้านอารมณ์ จิตใจ ภาวะสังคม เศรษฐกิจของผู้ป่วยแต่ละรายอย่างละเอียดและมีความไวต่อปฏิกิริยาต่อด้านการเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์และจิตใจที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วย
-
ให้ข้อมูลเกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรค การวินิจฉัย การตรวจพิเศษต่างๆ การรักษาพยาบาล การปฏิบัติก่อนและหลังการผ่าตัด
ให้ได้รับอาหาร น้ำ และอิเล็คโทรไลท์ ได้รับปริมาณที่เพียงพอก่อนการผ่าตัดเป็นสิ่งจำเป็นที่ผู้ป่วยทุกรายต้องได้รับเพื่อจะได้มีร่างกายที่พร้อมได้รับการผ่าตัด แผลหายเร็ว
การพักผ่อนและการออกกำลังกาย ถ้าผู้ป่วยนอนไม่หลับให้แจ้งแพทย์ทราบเพื่อให้ยาระงับ(sedative) อย่างอ่อนเพื่อให้ผู้ป่วยได้พักผ่อน ถ้าผู้ป่วยแข็งแรงดีกระตุ้นให้ออกกำลังกายเบาๆเช่น เดินเข้าห้องน้ำ ยกแขน ยกขา
แนะนำเรื่องการนอนพลิกตะแคงตัวการเปลี่ยนท่านอนบ่อยๆ และสำหรับผู้ป่วยไม่รู้สึกตัวให้พลิกตะแคงให้ททุก1-2 ชม
-
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยหายใจโล่ง และคงไว้ซึ่งการทำงานระบบหายใจ ภายหลังการผ่าตัดระยะแรกจะมีอาการ พร่องออกซิเจน โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ได้รับยาระงับความรู้สึกทั่วร่างกาย สาเหตุเกิดจากการอุดกลั้นทางเดินหายใจ ภาวะหายใจช้า(Hypoventilation)
สารHCAs,PAHs
เป็นสารพิษที่ได้รับจากการของย่างสุกจนเกินไป
-
-
-
การผ่าตัดเอาชิ้นเนื้อออกเพื่อส่งตรวจยืนยันชนิดและความรุนแรงของเนื้อเยื่อ โดยตรวจเพิ่มเติมด้วยกล้องตุลทรรศน์ เพื่อค้นหา
ความผิดปกติของชิ้นเนื้อนั้นๆ
การตรวจโดยกาารส่องกล้องเข้าไปส่องในหลอดอาหาร ผ่านการใช้อุปกรณ์ที่ติดตั้งกล้องปล่อยคลื่นอัลตราซาวด์(Ultrasound) สอดเข้าไปในร่างกายผ่านทางปากหรือทางทวารหนัก เพื่อหต้นตอที่ทำให้ได้เกิดการเจ็บป่วย(หาก้อนเนื้อ)
เป็นการตรวจททางรังสีของหลอดอาหาร โดยการดื่มสารทึบรังสี เช่น แป้งแบเรี่ยม(Barium sulphate) ประกอบการถ่ายภาพเอกซเรย์เพื่อดูความผิดปกติของหลอดอาหารที่เป็นสาเหตุของการกลืนอาหารติดขัด
เป็นการรักษาในมะเร็งระยะต้นๆ และเป็นมะเร็งหลอดอาหารในตำแหน่งที่สามารถผ่าตัดได้ โดยผ่าตัดเอาหลอดอาหารส่วนที่เป็นมะเร็งออกไป
การฉายรังสีบำบัดรักษามะเร็ง โดยใช้รังสีพลังงานสูงฉายไปตำแหน่งของเซลล์มะเร็งเพื่อทำลายกลุ่มก้อนเซลล์มะเร็งนั้น
เป็นรักษาด้วยยาหลายรูปแบบเข้าไปทำลายหยุดยั้ง หรือต่อต้านเซลล์มะเร็งที่เจริญเติบโตเป็นวิธีที่ไม่ทำให้เซลล์มะเร็งหายไปจนหมดแต่เป็นชะลอการเกิดของเซลล์มะเร็ง
เป็นสารที่ยับยั้งการเกิดการงอกของเส้นเลือด
เพื่อป้องกันไม่ให้มีเส้นเลือดไปเลี้ยงส่วนที่มีเนื้องอก เป็นการลดจำนวนของเซลล์มะเร็ง ไม่ให้ขยายหรือเกิดขึ้นเพิ่มาเรื่อยๆ
-
เป็นการตัดสัญญาณประสาทจาก Vagus nerveทำให้ acethylcholine ที่ไปกระตุ้น parietal cell ลดลง ทำให้กระเพาะหลั่งกรดลดลง
การฉายรังสีบำบัดรักษามะเร็ง โดยใช้รังสีพลังงานสูงฉายไปตำแหน่งของเซลล์มะเร็งเพื่อทำลายกลุ่มก้อนเซลล์มะเร็งนั้น
เป็นสารที่ยับยั้งการเกิดการงอกของเส้นเลือด
เพื่อป้องกันไม่ให้มีเส้นเลือดไปเลี้ยงส่วนที่มีเนื้องอก เป็นการลดจำนวนของเซลล์มะเร็ง ไม่ให้ขยายหรือเกิดขึ้นเพิ่มาเรื่อยๆ