Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเยี่ยมบ้านผู้ป่วย - Coggle Diagram
การเยี่ยมบ้านผู้ป่วย
LO 1 การเยี่ยมบ้าน 3 ระยะ
1.1มีอะไรบ้าง?
3 ระยะ
3.การดำเนินการหลังเยี่ยมครอบครัว เป็นการบันทึกข้อมูลเพื่อประโยชน์ในการติดตามประเมินผลและวางแผนในครั้งแต่ไป
อ้างอิง : สุริยา ฟองเกิด,2559
2.การดำเนินการขณะเยี่ยมครอบครัวเป็นการดำเนินการร่วมกันระหว่างพยาบาลและครอบครัวได้รับการเยี่ยมในการรวมกันแก้ไขสุขภาพ
1.การดำเนินการก่อนเยี่ยมครอบครัว ขั้นตอนแรกเป็นการเตรียมความพร้อมทั้งด้านพยาบาล ข้อมูล และอุปกรณ์
1.2อุปกรณ์ที่ต้องใช้
เครื่องมือที่ควรเตรียมคิดตัวเมื่อไปเยี่ยมบ้าน ได้แก่ แฟ้มครอบครัว (Family Folder) แผนที่บ้านเบอร์โทศัพท์ผู้รับการเยี่ยม เครื่องวัดความดันโลหิต หูฟัง เทปวัดความยาว ขุดเครื่องมือตรวจหูและตา ปรอทวัดไข้ ไม้กดลิ้น สำสี อัลกอฮอล์ ชุดทำแผล ถุงมือ เครื่องวัตระดับน้ำตาลแบบพกพา แผ่นพับสุขศึกษา ถุงใส่ขยะ เป็นต้น รวมทั้งยาจำเป็นบางชนิต ติตไว้ในกระเป๋าบ้าง อุปกรณ์ถ่ายภาพเพื่อติตตามบาตแผล ถ่ายภาพนาทีประทับจภายในบ้าน ซึ่งอาจใช้เป็นเครื่องเดือนความจำของหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอดเด็กและครอบครัว รวมทั้งกระชับความสัมพันธ์อันดีต่อกันได้ในกายหลัง อีกทั้งเป็นกำลังโงไห้ทีมงาน CFT ที่เยี่ยมบ้านในวาระต่อๆไป
(ยุทนา,2561)
1.4ระยะเวลาในการเยี่ยม
ระยะเวลาในการเยี่ยม
ระยะที่1. ภายใน 1 เดือน/ทุก 6 เดือนหรือตามสภาพปัญหา
ระยะที่2. ภายใน 2-3สัปดาห์/ทุก 3 เดือนหรือตามสภาพปัญหา
ระยะที่3. ภายใน 1-2สัปดาห์/ทุก 1 เดือนหรือตามสภาพปัญหา
อ้างอิงค์ : สุรีย์ ลี้มงคล;2553)
1.5วัตถุประสงค์การเยื่ยม
-เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติมีความมั่นใจและสามารถพึ่งตนเองในการดูแลสุขภาพที่บ้านได้
-เพื่อให้ญาติรู้วิธีในการอยู่ร่วมกับผู้ป่วยที่บ้านและร่วมดูแลรักษาผู้ป่วย
-เพื่อใหแพทย์สามารถประเมินทั้งโรค(Disease)และความเจ็บป่วย(lllness)ที่แท้จริงของผู้ป่วยและญาติได้อย่างถูกต้อง
-เพื่อให้แพทย์ทำความรู้จักและสานต่อความสัมพันธ์อันดีกับผู้ป่วยและญาติในระยะยาว
อ้างอิง : ผศ.สายพิณ หัตถี หัตถีรัตน์.//(2560).//ภาควิชาเวชศาสตร์ครอบครัว./
จาก/
https://www.rama.mahidol.ac.th
1.3ประเภทใดบ้าง
1.6ปัญหาและอุปสรรค
LO 2 การประเมินสุขภาพครอบครัวและปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพครอบครัว
2.1เกณฑ์การประเมิณสุขภาพครอบครัว
-การรวบรวมข้อมูล สังเกต สัมภาษณ์ เอกสาร
-การวิเคราะห์ข้อมูล
-การแปลความหมาย จัดหมวดหมู่
2.2ประเมินด้านใดบ้าง
-ด้านร่างกายตามระบบ โดยการดู ฟัง เคาะ คลำ และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-ด้านจิตใจ
2.3วัตถุประสงค์
2.4ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพครอบครัว
ปัจจัยภายในครอบครัว
การถ่ายทอดทางพันธุกรรมทำให้มีผลต่อสุขภาพ
โครงสร้างครอบครัวและบทบาทสมาชิก
พฤติกรรมสุขภาพ ได้แก่ พฤติกรรมที่คนทำแล้วเชื่อว่าทำให้ตนมีสุขภาพดี
การเจ็บป่วยเป็นภาวะที่กระทบเทือนต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์
ค่านิยมและความเชื่อต่างๆคือการให้คุณค่าต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
2.5วิเคราะห์ข้อมูลอย่างไร
LO 3 กระบวนการพยาบาล
3.1ในการเยี่ยมบ้านมีกระบวนการอะไรบ้าง
3.2จัดลำดับความสัมพันธ์อย่างไร
3.3มีการวางแผนการพยายาลอย่างไร
3.4จะลงมือปฏิบัติการพยาบาลอย่างไร
3.5ประเมินผลอย่างไร
LO 6 Genogram/ Ecomap
6.1หลักการคือ
6.2วิธีการเลือกใช้
6.3มีประโยชน์อย่างไร
6.4มีองค์ประกอบใดบ้าง
LO 7 การสร้างเสริมสุขภาพ
7.1 แบบจำลองระบบเปิดของคิงและแบบจำลองการปรับตัวของรอย
7.2 ทฤษฏีระบบของนิวแมน
7.3 ทฤษฏีการดูแลตนเองของโอเร็ม
7.4 ทฤษฎีจำลองกระบวนการชีวิตของโรเจอร์
LO 5 บทบาทพยาบาลครอบครัว
5.1บทบาทหน้าที่พยาบาล คืออะไร
5.2มีหลักการอย่างไร
5.3ชุมชนกับครอบครัวต่างกันอย่างไร
LO 4 การจัดลำดับความสำคัญในการเยี่ยมบ้าน
LO 8 ทฤษฎีการพยาบาล