Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบโรคหัวใจและหลอดเลือด - Coggle Diagram
ระบบโรคหัวใจและหลอดเลือด
pericarditis
สาเหตุ
1.การติดเชื้อ
2.ไม่ติดเชื้อ
3.autoimmune เกิดจากภูมิของเราเองทำลายเราเอง เช่น โรคพุ่มพวง
• สาเหตุที่พบได้บ่อยในผู้ใหญ่ คือ การติดเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส มะเร็ง ภยันตราย ยูรีเมีย
แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ 1)Parietal pericardium ผนังด้านนอกช่องเยื่อหัวใจติดกับเยื่อหุ้มปอด
2)Visceral pericardium เยื่อบุที่ติดด้านนอกผนังหัวใจ
การวินิจฉัย
-
2.อาการและอาการแสดง มีอาการแสดง 3 อย่างที่สำคัญ คือ อาการเจ็บหน้าอก,เสียงเสียดสีระหว่างเยื่อหุ้มหัวใจทั้งสองข้างในขณะที่หัวใจเคลื่อนไหว,หายใจลำบาก,อาการอื่นๆ ได้แก่ ไข้ หนาวสั่น เหงื่อออก ไอ ปวดตามข้อ เบื่ออาหารและน้ำหนักลด
-
-
การพยาบาล
-
-
-
-
-
-
-
8.การให้ยาตามแผนการรักษา
-
ยาโคลซิซิน ใช้เพื่อรักษาอาการที่เกิดขึ้นอย่างเฉียบพลันหรืออาการรุนแรงนานกว่า 2 week และใช้ยารักษาเมื่อผู้ป่วยหลับมาเกิดอาการซ้ำ โดยยาจะช่วยลดการอักเสบและป้องกันอาการเกิดขึ้นซ้ำได้
ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ อย่างยาเพรดนิโซนมักใช้ในกรณีที่อาการของผู้ป่วยไม่ดีขึ้นหลังได้รับยาแก้ปวดหรือยาโคลซิซิน
ยาขัปัสสาวะ ใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยได้รับยาแก้ปวดหรือยาโคลซิซินติดต่อกันเป็นเวลาหลายปี เพื่อช่วยระบายของเหลวส่วนเกินในร่างกายออกเนื่องจากเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบและหดตัว
-
อาการและอาการแสดง
-เจ็บแปลบในช่องอกบริเวณใต้กระดูกอกร่วมกับปวดไหล่ด้านใดด้านหนึ่งหรือทั้ง 2 ข้าง
-ไข้ อ่อนเพลีย และเวียนศีรษะ เบื่ออาหาร ใจสั่น
-ความดันโลหิตต่ำ
-หายใจลำบาก ไอแห้งๆ
-หากมีอาการรุนแรง ผู้ป่วยจะรู้สึกเจ็บหน้าอกมากถึงระดับเหมือนโดนมีดแทงและเป็นอาการปวดที่คล้ายกับอาการปวดจากภาวะหัวใจวายหรือหัวใจล้มเหลว ภาวะนี้มีอันตรายอย่างสูงมากและมีโอกาสทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตได้
Congestive heart failure
การรักษา
การรักษาที่ไม่ใช้ยา
-ค้นหาและกำจัดปัจจัยชักนำ เช่น หยุดยา NSAIDs
-จำกัดการออกกำลังในช่วงที่หัวใจล้มเหลวเฉียบพลัน เพื่อลดภาระในการทำงานของหัวใจ ลดการกระตุ้น sympathetic nervous system
-ให้ oxygen แก่ผู้ป่วยเพื่อรักษาระดับ oxygen ภายในกระแสเลือดลดอาการายใจหอบเหนื่อยเพิ่มการส่งออกซิเจนไปเนื้อเยื่อ
การรักษาโดยการใช้ยา
1.ยาที่มีผลกด preload
• Diuretics - Thiazides
- Loop diuretics เช่น furosemide
• ACEls มีฤทธิ์ลด preload และ afterload จากการขยายหลอดเลือดดำและแดง
• Sodium nitroprusside มีฤทธิ์ลด preload และ after load จากการจยายหลอดเลือดดำและแดง
• IV nitroglycerin และ Nitrates มีฤทธิ์ลด preload มากกว่า afterload เนื่องจากฤทธิ์ที่หลอดเลือดดำเด่นชัดกว่าที่หลอดเลือดแดง
• Hydranlazine มีฤทธิ์ลด afterload มากกว่า preload เนื่องจากฤทธิ์ที่หลอดเลือดแดงเด่นกว่าหลอดเลือดดำ
-
สาเหตุ
-
-
3.สาเหตุอื่นๆ
-
-สาเหตุที่เกี่ยวข้องกับจังหวะการเต้นของหัวใจอาจเป็นได้ทั้งเต้นเร็วเกินไป ช้าเกินไป หรือไม่คล้องจองของการเต้นของหัวใจห้องบนและล่าง
ventricular fibrillation or tachycardia
atrial fibrillation or tachycardia
bradycardia
complete heart block
การวินิจฉัย
-
การตรวจร่างกาย
-การดูลักษณะทั่วไป
-การตรวจบริเวณทรวงอก ท้อง ชีพจร การเต้นของหลอดเลือดที่คอ การดู Hepato-jugular reflex
-
-
การติดตามค่าพารามอเตอร์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการไหลเวียนเลือดภายในร่างกาย โดยใช้ pulmonary artery catheter เพื่อประเมินถึงสภาวะการไหลเวียนของเลือดภายในร่างกาย เช่น ความดันภายในหลอดเลือดฝอยของปอด
-
อาการและอาการแสดง
-เหนื่อยง่าย
-อ่อนเพลีย
-หน้ามืด
-ไตวาย
ซึ่งเป็นผลจากอวัยวะสำคัญขาดออกซิเจนเรื้อรังและอาการเหนื่อยจากภาวะน้ำท่วมปอด นอนราบไม่ได้ หน้าบวม ขาบวม ซึ่งเกิดจากกลไกที่มีน้ำคลั่งอยู่ในร่างกาย
Pulmonary Embolism
สาเหตุ
- เลือดไหวเวียนช้า โดยมากมักเกิดจากการไม่เคลื่อนไหวร่างกายเท่าที่ควร
- การจับตัวของเลือดในหลอดเลือด
-เส้นเลือดได้รับบาดเจ็บ
-ปัญหารการแข็งตัวของเลือด สามารถเกิดได้จากการใช้ยา อายุที่มากขึ้นหรือภาวะของโรค
-มีการใส่สายสวนที่หลอดเลือด
-
พันธุกรรม หากสมาชิกในครอบครัวเคยเป็นโรคนี้หรือมีภาวะลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำมาก่อน ก็อาจเพิ่มความเสี่ยงให้เกิดโรคได้มากขึ้น
-
-
ภาวะน้ำตัวเกิน รวมถึงโรคอ้วน อาจทำให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคนี้ได้ โดยเฉพาะผู้หญิงที่อ้วนหรือมีน้ำหนักเกิน
การตั้งครรภ์ น้ำหนักของทารกในครรภ์อาจไปกดทับเส้นเลือดดำบริเวณกระดูกเชิงกราน ทำให้เลือดไหวเวียนได้ช้าจนเสี่ยงต่อการเกิดลิ่มเลือด
การใช้ฮอร์โมนเสริม ความเสี่ยงในการเกิดลิ่มเลือดแข็งตัวจนเป็นลิ่มเลือดอาจเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะผู้ที่ได้รับฮอร์โมนเอสโตรเจนหรือเทสโทสเตอโรน อาจมาจากการใช้ยาคุมกำเนิดหรือการใช้ฮอร์โมนทดแทน
การรักษา
-
การใช้ยาต้านการแข็งตัวของเลือด ยาที่นิยมใช้ ได้แก่ ยาเฮพารินซึ่งเป็นยาที่ออกฤทธิ์เร็ว โดยแพทย์จะฉีดยาเข้าทางหลอดเลือดดำหรือใต้ผิวหนังนิยมใช้คู่กับการรับประทานยาวาร์ฟารินเป็นเวลาหลายวันจนกว่าจะเห็นผล
การสอดท่อเข้าทางหลอดเลือด ในกรณีที่ลิ่มเลือดมีขนาดใหญ่และเป็นอันตรายต่อชีวิตแพทย์จะสอดท่อเข้าทางหลอดเลือดเพื่อกำจัดลิ่มเลือดที่อุดตัน
-
การผ่าตัด แพทย์จะผ่าตัดกำจัดลิ่มเลือดในกรณีที่ผู้ป่วยอยู่ในสถานการณ์ฉุกเฉิน มีอาการช็อค ไม่สามารถใช้ยาละลายลิ่มเลือดได้หรือรักษาด้วยการใช้ยาอื่นๆและไม่ได้ผล
การวินิจฉัย
- การซักประวัติและการตรวจร่างกาย
2.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
- การตรวจเลือด เพื่อหาค่าดีไดเมอร์ (D-Dimer) ซึ่งเป็นค่าที่บอกถึงการมีลิ่มเลือดในหลอดเลือด แต่ปัจจัยอื่นๆก็อาจส่งผลต่อค่าดีไดเมอร์ได้เช่นกัน รวมถึงตรวจระดับออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดหากก๊าซเหล่านี้ลดต่ำลงแสดงว่าอาจมีลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือด
-การเอกซเรย์ทรวงอก แม้วิธีนี้จะไม่สามารถวินิจฉัยโรคได้แต่จะแสดงให้เห็นถึงการทำงานของปอดและหัวใจ โดยบางครั้งอาจพบว่าเนื้อปอดบางจุดมีปริมาณหลอดเลือดลดลง
-การเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ เพื่อตรวจความผิดปกติภายในหลอดเลือดแดงที่ปอด
-การตรวจคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นการใช้คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสร้างภาพอวัยวะภายในที่ต้องการตรวจเหมาะสำหรับการวินิจฉัยโรคในหญิงตั้งครรภ์
-การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ส่วนใหญ่พบว่าผู้ป่วยโรคนี้มีภาวะหัวใจเต้นเร็วและอาจพบคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่บ่งชี้ถึงภาวะลิ่มเลือดอุดตันได้
-การตรวจคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ จะแสดงให้เห็นว่าหัวใจห้องล่างขวาโตเบียดผนังกั้นหัวใจห้องล่างไปทางหัวใจห้องล่างซ้ายและอาจมีลิ้นหัวใจไตรคัสปิดรั่ว
-การฉีดสีดูหลอดเลือดปอด เป็นวิธีการวินิจฉัยที่แม่นยำและชัดเจน แพทย์มักเลือกใช้วิธีการนี้เมื่อไม่สามารถวินิจฉัยด้วยวิธีการอื่นๆ
การพยาบาล
-
-
ดูภาวะแทรกซ้อน
เมื่อเกิดโรคpulmonary Embolism หัวใจต้องทำงานหนักขึ้นเพื่อผลักดันให้เลือดไหลเวียนเข้าสู่หลอดเลือดที่มีลิ่มเลือดอุดกั้นอยู่ จึงอาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อน คือ ความดันเลือดในปอดหรือหัวใจห้องซ้ายสูง ซึ่งจะส่งผลให้หัวใจอ่อนกำลังลงได้ และเมื่อเวลาผ่านไปก็อาจทำให้ผู้ป่วยเกิดภาวะความดันในปอดสูงเรื้อรัง
-
-
อาการแสดง
ผู้ป่วยมักจะมีอาการหายใจหอบเหนื่อยมากอย่างกะทันหัน ใจสั่น แน่นหน้าอก บางรายมีอาการหน้ามืดเป็นลม หรือหมดสติ พบไม่บ่อยที่ผู้ป่วยจะมีอาการไอเป็นเลือดซึ่งเกิดจากการที่มีการตายของเนื้อปอด การตรวจร่างกายผู้ป่วยมักหายใจเร็ว มีระดับออกซิเจนในเลือดต่ำ หัวใจเต้นเร็วและมีเลือดดำที่คอโป่ง ฟังปอดมักปกติหรืออาจฟังได้เสียง wheezing ในหลอดลม บางครั้งอาจได้ยินเสียงการเสียดสีของเยื่อหุ้มปอด
-