Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
G3P2002 GA 37+6 wks c Labor pain vacuum extraction no tare due to fetal…
G3P2002 GA 37+6 wks c Labor pain vacuum extraction no tare due to fetal distress
CC: เจ็บครรภ์คลอดถี่ ไม่มีน้ำเดิน ไม่มีมูกเลือด 3 ชั่วโมงก่อนมา
โรงพยาบาล
PI : 3 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาลหญิงตั้งครรภ์มีอาการเจ็บครรภ์ถี่ ไม่มีน้ำเดิน ไม่มีมูกเลือด จึงเดินทางมาโรงพยาบาลนครพิงค์ Height of fundus = 33 cm. FHS = 134 bpm ทารกท่า LOA Vertex presentation Uterine contraction Interval=2’ Duration=40’’ Intensity moderate ตรวจภายในพบ Cervix dilate 3 cm. Effacement 75 % Station 0 Membrane Intact
1.Power
Primary power
ระยะที่ 1
-
-
ระยะ Thansitional Phase Cx.8-10 cm. Eff 100% Interval 2 min Duration 60-90 sec Intensity strong-severe strong
ระยะที่ 2
เป็นระยะที่ ทารกถูกขับออกมานับตั้งแต่ปากมดลูกเปิดหมดจนถึงทารกคลอด ในครรภ์หลังใช้เวลาไม่เกิน 1 ชั่วโมง Interval 2 min, Duration 60-90 Intensity Strong Eff 100%
ระยะที่ 3
แรงจากการหดรัดตัวของมดลูกที เป็นจังหวะสม่ำเสมอความสําคัญต่อการลอกตัวของรกและการคลอดรก โดยมดลูกจะมีการหดรัดตัวแข็งขึ้น แต่หากมดลูกไม่มีการแข็งตัวหรอมีการหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี(Uterine atony) จะทําให้เกิดการตกเลือดหลังคลอดได้ระยะนี้ใชเวลาไม่เกิน 30นาที
ระยะที่ 4
แรงจากการหดรัดตัวของมดลูกที เป็นจังหวะสม่ำเสมอ โดยมดลูกจะมีการหดรัดตัวแต่หากมดลูกไม่มีการหดรัดตัว จะทําให้เกิดการตกเลือดหลังคลอดได้
-
Seconary power
ระยะที่ 1
มารดาจะมีความรู้สึกอยากเบ่งเกิดจากส่วนนำของทารกเคลื่อนต่ำลงมากขึ้นเมื่อปากมดลูกเปิดครบ 10 เซนติเมตรมารดาจะเริ่มมีแรงเบ่งโดยการเบ่งคลอดจะถูกกระตุ้นทำให้หัวใจเต้นเร็วขึ้นกล้ามเนื้อหัวใจต้องการใช้ออกซิเจนมากขึ้นความดันโลหติสูงขึ้น
ในระยะนี้ส่วนนําของทารกเคลื่อนลงไปกดที่พื้นที่เชิงกรานทําให้ผู้คลอดอยากเบ่งมากขึ้นและศรษะเริ่ม เงยขึ้นพื้นเชิงกรานยืดมากขึ้นทําให้ไม่สามารถควบคุมการเบ่งได้ผู้คลอดรายนี้ใช้ระยะเวลาในการคลอด 28 นาทีInterval 2 min,Duration 40 Intensity Strong Eff 100% ไม่เป็นไปตามทฤษฎี
-
ระยะที่ 2
เมื่อผู้คลอดเบ่งจะทําให้ทารกเคลื่อนทีต่ำมากยิ่งขึ้นศีรษะของทารกมีการเงยขึ้น(Extrntion) เส้นรอบวงศีรษะเปลี่ยนจาก SOB เป็น SOF และเงยเต็มที SOM นั้นคือศีรษะของทารกพ้นออกทางช่องคลอด
-
2.Passage
ระยะที่ 1
-
Bony passage
Pelvic inlet : ลักษณะเป็นรูปวงรีแนวขวางคล้ายไข่นอน Diagonal diameter 11.5-13.5 cm ,True conjugate = 11-11.5 cm. ,Station.=0
ตรวจภายในเวลา 13.40 นcx.3 cm,Eff75% st 0 MI,HE ท่า LOA และพบ Diagonal diameterประมาณ 12.5 cm เมื่อคลอดไม่มีปัญหาเรื่องของการคลอดติดขัด
Mid Pelvic : ค่อนข้างกลม ด้านหน้าเป็น Symphisis pubis ด้านหลังเป็น Sarcrum, Interspinus ischial spineประมาณ 10.5 cm
-
Pelvic Outlet : ลักษณะเป็นรูปวงรีตามแนวตั้งด้านบนเป็น Symphisis pubis ด้านล่างเป็น Coccyx Suprapubic arch มุมไม่น้อยกว่า 85 องศา
-
ระยะที่ 2
-
Soft passage
กระเพาะปัสสาวะ
จะต้องไม่มีการเต็มของกระเพาะปัสสาวะเพราะจะทำให้เกิดการขัดขวางการเคลื่อนต่ำของส่วนนำทำให้ผู้คลอดรายนี้เกิดการคลอดล่าช้า
-
ระยะที่ 3
Soft passage
กระเพาะปัสสาวะ
ประเมินบริเวณหัวหน่าวจะต้องไม่มีการเต็มของปัสสสาวะเนื่องจากจะไปขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูกอาจจะทำให้คลอดรกไม่สมบูรณ์
-
-
3.Passenger
ระยะที่ 1
ทารก
-
-
-
ขนาดของทารกจะต้องไม่ใหญ่มากเกินไป รูปร่างทารกปกติจะต้องไม่มีลักษณะของการพิการลำตัวอยู่ในแนวยาวมศีรษะเป็นส่วนนำอยู่ในทรงก้มท่าปกติ
-
-
-
-
ระยะที่ 3
รกและเยื่อหุ้มรก
cord sign คือการเคลื่อนออกมาของสายสะดือส่วนที่อยู่นอกช่องคลอดยาวออกมาเร่อยๆเกลียวสายสะดือจะคลาย สายยสะดือเริ่มเหี่ยว คลำไม่พบชีพจร
-
-
-
4.Psycological condition
ระยะที่ 1
ความวิตกกังลวลเกี่ยวกับการคลอดจากประสบการณ์ที่ผ่านมาจากการได้รับรู้ในการอ่าน ฟัง เห็น จากประสบการณ์ที่เคยได้รับอาจทําให้เกิดทัศนคติที ไม่ดีต่อการคลอด
ระยะที่ 2
ในระยะนี้ผู้คลอดจะต้องมีสติจะต้องเผชิญกับความเจ็บปวดและการเบ่งคลอดหากผู้คลอดมีความกังวลสูง กลัวต่อการคลอด เจ็บปวดมากและไม่สามารควบคุมความเจ็บปวดได้ส่งผลมีการหดรัดตัวของมดลูกผิดปกติทำให้มีแรงเบ่งน้อยเกิดความล่าช้าของการคลอด
-
หากผู้คลอดมีความวิตกกังวลหรือกลัวการคลอดจะทําให้ไม่สามารถเผชิญหรือควบคุมความเจ็บปวดได้ร่างกายจะหลัง สารความเครียด ได้แก่ Catecholamines Epinephrine และ Cortisol เพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้กล้ามเนื้อทั่วร่างกายเกิดความตึงตัวความรู้สึกเจ็บปวดเพิ่มมากขึ้น
-
-
5.Physical Condition
ระยะที่ 1
อายุน้อยกว่า 16ปี การเจริญเติบโตของกระดูกเชิงกรานยังไม่เต็มที่มักเสี่ยงต่อการเกิดภาวะส่วนนำและเชิงกรานไม่ได้สัดส่วน
อายุมากกว่า 35 ปี พื้นเชิงกรานจะขยายตัวได้น้อยทำให้ส่วนนำของทารกเคลื่อที่ลงต่ำได้ช้า ส่งผลให้ระยะที่ 1และ 2 ของการคลอด ยาวนานกว่าปกติ
-
ส่วนสูง หญิงตั้งครรภ์ที่มีความสูงน้อยกว่า 145 มคงามเสี่ยงต่อภาวะไม่สัมพันธ์กันระหว่างศีรษะทารกกับเชิงกราน
ระยะที่ 2
สภาวะด้านร่างกาย การได้รับยาบางขนิดหรือการได้รับยาเร่งคลอดมากเกินไปสส่งผลให้มดลูกหดดรัดตัวมากเกินไปจนทำให้มดลูกแตก
ระยะที่ 3
มีการเสียเลือดจากใในระยะที่ 3 ภายหลังการคลอดจะมีเลือดออกทางช่องคลอดประมาณ150-200 ccไม่เกิน 500ccเป็นเลือดท่เกิดจากกาารฉีกขาดของหลอดเลือดบริเวณรกลอกตัวและะมีกาารสูญเสียพลังงาน
-
ุ6.Position
-
ระยะที่ 2
จัดท่าให้เหมาะสมกับการคลอด 1. ท่านอนหงายชันเข่า (dorsal recumbent) ส่งเสริมการยืดขยายของช่องคลอด 2. ท่านอนหงายขึ้นขาหยั่ง (Lithotomy position) ช่วยให้ช่องทางคลอดในแนวหน้า-หลัง (AP diameter) ของ pelvic outlet กว้างขึ้น 2. ท่าศีรษะและลําตัวสูง (upright position) เคลื่อนต่ำได้เร็วขึ้น การหดรัดตัวของมดลูกมีประสิทธิภาพมาก
ระยะที่ 3
ท่าที่เหมาะสมคือท่า lithotomy positionเป็นท่าช่วยส่งเสริมความยืดขยายของช่องคลอดสะดวกในการซ่อมแซมฝีเย็บ ท่า dorsal recumbent Positionเป็นแนวกระดูกสันหลังอยู่ในแนวราบช่วยเย็บซ่อมแซมฝีเย็บได้ง่าย
-
ผู้คลอดรายนี้มีการหดรัดตัวของมดลูกดี เป็นนก้อนกลมแข็งแต่หญิงตั้งครรภ์รายนี้ได้รับการ V/E แพทยจึง methagim 0.2 mg
-
-
-
ผู้คลอดรายนี้ Admit Cx.3 cm Eff 75% Interval 2 min Duration 40 sec Intensity mild เจ็บครรภ์เวลา11:30 น. (ไม่เป็นไปตามทฤษฎี)
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
ผู้คลอดรายยนี้ใช้ท่าท่านอนหงายขึ้นขาหยั่ง (Lithotomy position) ช่วยให้ช่องทางคลอดในแนวหน้า-หลัง (AP diameter) ของ pelvic outlet กว้างขึ้น เนืื่องจากต้องช่วยคลอดด้วย V/E
-
-
-