Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะตัวเหลือง (Neonatal jaundice or hyperbilirubinemia) - Coggle Diagram
ภาวะตัวเหลือง
(Neonatal jaundice or hyperbilirubinemia)
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
ตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
มารดาปฏิเสธภาวะตัวเหลืองในครรภ์แรก และปฏิเสธการติดเชื้อขณะตั้งครรภ์
ทำ Blanching พบ ภาวะเหลืองที่หน้าผากและอก
แพทย์ทำ TCB ได้ค่า MB 15.4 mg/dl และ Order ให้ เจาะ Hct/MB Stat ได้ค่า Hct 41% และค่า MB 12 mg/dl
ทารกมีหมู่เลือด Group B Rh Positive
แม่มีหมู่เลือด Group A Rh Positive
ผล G6PD เป็น Normal
คือ ภาวะที่มีระดับบิลิรูบินสูงในซีรั่มสูงกว่า 5 มิลิกรัม/เดซิลิตร โดยทั่วไปอาการตัวเหลืองเกิดจากการมีสารสีเหลืองที่เรียกว่าบิลิรูบิน (Bilirubin) จำนวนมากกว่าปกติคั่งอยู่ในอวัยวะต่าง ๆ ทำให้ปรากฎอาการเห็นที่ผิวหนัง
ทารกมีอาการตัวเหลือง ค่า MB = 12 mg/dL (อายุ 3 วัน) ได้รับการวินิจฉัยเป็น Neonatal jaundice
สาเหตุ
ภาวะบิลิรูบินในเลือดสูงทางสรีรภาพ
(Physiological hyperbilirubinemia)
✅ 1.อัตราการสร้างบิลิรูบิน ทารกแรกเกิดมีการสร้างบิลิรูบิน ที่สูงขึ้น 6-8/กก./24 ชม. ซึ่งมากกว่าผู้ใหญ่และเด็กโตถึง 2 เท่า
✅ 2.การที่มีปริมาณเม็ดเลือดแดงที่มากกว่าและมีอายุสั้นกว่า คือ ประมาณ 90 วัน ในขณะที่เด็กโตหรือผู้ใหญ่อายุ 120 วัน
✅ 3.การทำหน้าที่ของตับ ตับมีความสามารถในการเปลี่ยน UCB เป็น CB ยังไม่สมบูรณ์พอ
✅ 4.การดูดซึมบิลิรูบินกลับจากกลไกของการเผาผลาญบิลิรูบินจะมีบิลิรูบินบางส่วนถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดและย้อนกลับไปยังตับอีกครั้ง
2).ภาวะบิจิรูบินในเลือดสูงจากพยาธิสภาพ
(Phatological jaundice)
❌ Polycythemia
Hct 41%
❌ พร่องเอนไซม์ G6PD
G6PD normal
❌ การได้รับยาบางชนิดที่มีผลให้เม็ดเลือดแดงของทารกแตกง่าย
ไม่ได้รับยาที่มีผลทำให้เม็ดเลือดแดงเเตกง่าย
❌ ABO Incompatibility
❌ Rh Incompatibility
แม่ Group A Rh positive
ลูก Group B Rh positive
❌ การติดเชื้อบางอย่างที่ทำให้เม็ดเลือดแดงแตกง่าย
ค่า WBC ปกติ (21/11/65)
และไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะติดเชื้อ
❌ ลำไส้มีการเคลื่อนไหวน้อยหรือจากทารกดูดนมน้อย
ทารกรับ feed ได้ดี ไม่มี content
❌ มีการอุดตันของลำไส้
ไม่มีภาวะลำไส้อุดตัน
❌ ท่อน้ำดีอุดตัน
ไม่มีภาวะท่อน้ำดีอุดตัน
❌ ทารกคลอดก่อนกำหนด ทำให้ระดับเอนไซม์ที่จะเปลี่ยนบิลิรูบินในเลือดต่ำกว่าทารกคลอดครบกำหนด
คลอดครบกำหนด
GA 37+5 wk by date
❌ ได้รับยาบางชนิดที่มีผลยับยั้ง glucuronyl transferase ทำให้ขัดขวางการเปลี่ยนบิลิรูบิน UCBเป็น CB
ไม่ได้รับยา ที่มีผลยับยั้ง glucuronyl transferase
3.ภาวะตัวเหลืองจากน้ำนมมารดา
❌ จากการได้รับนมน้อย เกิดจากมารกดูดนมได้ไม่ดีหรือ น้ำนมมารดามีน้อย ทำให้ทารกได้รับนมปริมาณที่น้อย จึงมีอาหารผ่านลำไส้น้อย การขับถ่ายก็จะน้อยลงด้วย มีผลทำให้การดูดกลับของ บิลิรูบินมากขึ้นเกิดภาวะบิลิรูบินเพิ่มสูงขึ้นได้
ทารกได้รับนมตาม Order ของแพทย์ เป็น BM/IF (20 kcal/oz.) sig. 30 ml x 8 feed รับได้ดี ไม่มี content ค้าง
❌ จากส่วนประกอบในน้ำนมมารดา น้ำนมมารดามีสารชนิดหนึ่งที่ขัดขวางการทำหน้าที่ของตับในการเปลี่ยนบิลิรูบิน
ทารกไม่ได้รับนมแม่ แต่ได้รับเป็นนม IF (Infant formular)
การรักษา
1.การรักษาโดยการส่องไฟ ( Phototherapy )พลังงานจากแสงสว่างโดยเฉพาะแสงสีฟ้าเขียว(blue-green light)
21/11/65
Hct 41% MB 12 mg/dl แพทย์ให้ On Phototherapy Level 2 และตาม Hct/MB ตอนเช้า
22/11/65
Hct 45% MB 8.3 mg/dl แพทย์ให้ Off Phototherapy และตาม Hct/MB ตอนเช้า
23/11/65
Hct 43% MB 9.7 mg/dl
2.การรักษาโดยการเปลี่ยนถ่ายเลือด ( Exchange
Transfusion ) โดยทั่วไปควรเปลี่ยนเลือดเมื่อระดับ Microbilirubin ( MB ) สูงกว่า 20 มก /ดล. ในกรณีที่สาเหตุไม่ได้เกิดจากโรคเม็ดเลือดแดง แตกง่ายจะทำการเปลี่ยนเลือดเมื่อ Microbilirubin สูงกว่า 23 มก./ดล.
การรักษาด้วยยา เช่นยา Phenobarbital ซึ่งช่วยเพิ่มการทำงานของเอนไซม์กลูโคโรนิลทรานสเฟอเรส (glucoronyl trasferase) ทำให้ตับสามารถขับบิลิรูบินได้มากขึ้น แต่เนื่องจากผลข้างเคียงของยา เช่น ทารกซึม ไม่ดูคนม การรักษาด้วยยาจึงไม่เป็นที่นิยมใช้
อาการ
อาการตัวเหลือง มักพบที่บริเวณใบหน้าก่อน
ซีดหรือบวม ตับหรือม้ามโต ซึม จุดเลือดตามตัวหรือมีรอยเลือดออกบนผิวหนัง
ทารกมีอาการตัวเหลืองถึงหน้าอก ไม่มีภาวะซีดหรือบวม ไม่มีอาการซึม ไม่มีตับม้ามโต ไม่มีจุดเลือดออกตามตัว