Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุ - Coggle Diagram
การเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุ
ประชากร
R1/45-59
R2/50-59
R3/40-59
R4/18-59
R6/40-59
R5/50-59
R7/50 ปีขึ้นไป
R8/50-59
R9/40-55
วิธีการศึกษา
R1/การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive
Research) และ การวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research)
R2/การวิจัยเชิงพรรณนา
R3/การเชิงปริมาณและเชิง
คุณภาพแบบผสมผสานคู่ขนาน
R4/การวิจัยเชิงปริมาณ
R5/การวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณ์นา
R6/การวิจัยเชิงพรรณา
R7/สถิติเชิงบรรยาย (descriptive statistics)
R8/การวิจัยแบบส ารวจ (Survey Research)
R9/การวิจัยแบบหาความสัมพันธ์เชิงทำนาย (Predictive correlational
research design)ใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics)
เครื่องมือในการวิจัย
R1/แบบสอบถาม
R2/แบบสอบถาม
R3/แบบสอบถาม
R4/แบบสอบถาม
R5/เก็บุรวบุรวมข้อม่ลั ด้วยการสังเกตแบบมีส่วนร่วม สัมภาษณ์เชิงลึก สนทนากลุ่ม บันทึกภาคสนาม
R6/แบบสอบถาม
R7/แบบสอบถาม
R9/แบบสอบถาม
กรอบแนวคิด/ตัวแปร
R1/ด้าน
ร่างกาย/จิตใจ/เศรษฐกิจ/วัฒนธรรม พฤติกรรมสุขภาพของ กลุ่มวัยก่อนสูงอายุ บทบาท/ความพร้อมในการมีส่วนร่วมของ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีความสัมพันธ์กับร่างกาย จิตใจ(ความรอบรู้ด้านสุขภาพ การเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร พฤติกรรมสุขภาพ) สังคม วัฒนธรรม(ความพร้อมในการดำเนินชีวิต การมีส่วนร่วมของชุมชน)และเศรษฐกิจ(ช่องทางรายได้)
R2/ตัวแปรต้น/ข้อมูลส่วนบุคคล - ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ - ข้อมูลด้านสุขภาพ - ข้อมูลด้านที่อยู่อาศัย - ข้อมูลด้านสังคม - ข้อมูลด้านการเตรียมความพร้อม
ตัวแปรตาม/พฤติกรรมการดูแลตัวเองก่อนเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ
R3/ภาวะพฤฒพลัง (Active Ageing)ตัวแปรต้น/เพศ อายุ สถานภาพการสมรส จ านวนบุตร ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ ที่พักอาศัย ความสนใจใน พระพุทธศาสนา
ตัวแปรตาม/การเตรียมตัวเป็นผู้สูงอายุด้าน ๑. ด้านสุขภาพกาย/สุขภาพใจ ๒. ด้านการมีความมั่นคงในชีวิต ๓.ด้านการมีส่วนร่วมในสังคม ๔. ด้านการเรียนรู้ไม่สิ้นสุด
เป้าหมายคือผู้สูงอายุที่มี ภาวะพฤฒพลัง
้R4/แบ่งการเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเป็น 4 ด้าน ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสุขภาพ ด้านที่อยู่ อาศัย ด้านสังคม
ตัวแปรต้น=เพศ อายุ การศึกษา
R5/แนวคิดพฤฒพลัง (Active ageing) ประกอบด้วย 3 เสาหลัก ได้แก่ การมีสุภาพที่ดี (Health) การมีส่วนร่วม (Participation) และการมีหลักประกันและความมั่นคง (Security) เตรียมความพร้อม 5 มิติคือ สังคมวัฒนธรรม เศรฐกิจ สภาพแวดล้อม สุขภาพ การเมืองและการปกครอง
R6/ตัวแปรต้น/ ความรุ้
ตัวแปรตาม/ร่างกาย จิตใจ สังคมและเศรษฐกิจ
R7/ACTIVE AGEING(สุขภาพ การมีส่วนร่วมทางสังคม หลักประกันชีวิต)
ตัวแปรต้น/การมีโรคประจำตัว การมีผู้ดูแลเมื่เจ็บป่วย ระดับการศึกษา การอ่านออกเขียนได้ ศาสนา สถาณภาพสมรส แหล่งที่มาของรายได้ การใช้จ่ายรายเดือน อายุ
R8/“Active Ageing(ด้านสุขภาพ การมีส่วนร่วม ด้านความมั่นคงในชีวิต) ตัวแปรต้น/ เพศ อายุ ศาสนา ระดับการศึกษา สถานภาพ
สมรส อาชีพ รายได้ สถานภาพทางการเงิน ภาระหนี้สิน ลักษณะของครอบครัว ภาวะสุขภาพ จำนวนสมาชิกในครอบครัว และการมีที่อยู่อาศัยเป็นของตนเอง แรงสนับสนุนทางสังคม ประกอบด้วยด้านอารมณ์และสังคม ด้านการรับข้อมูลข่าวสาร
และด้านทรัพยากร ความรู้ ทัศนคติต่อการเตรียมความพร้อม
R9/ACTIVE AGEING ตัวแปรต้น ปัจจัยนำ ได้แก่ เพศ อายุ ทัศนคติต่อการสูงอายุ
การรับรู้ความสามารถของตนเอง ภาวะสุขภาพ
ปัจจัยเอื้อได้แก่ รายได้ การมีผู้สูงอายุในครอบครัว ปัจจัยเสริมได้แก่ การสนับสนุนทางสังคม/ใช้กรอบแนวคิดPRECEDE-PROCEED MODEL
R8/แบบสอบถาม