Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 11 จำนอง-จำนำ - Coggle Diagram
หน่วยการเรียนรู้ที่ 11 จำนอง-จำนำ
ลักสัญญาสำคัญขอลจำนอง
จะต้องมีสัญญาประธานระหว่างเจ้าหนี้และลูกหนี้แห่งสัญญาประธานหรือหนี้ประธาน เพื่อเป็นประกันการปฏิบัติการชำระหนี้ของลูกหนี้
หลักเกณฑ์การจำนอง
ผู้จำนองต้องเป็นเจ้าของกรรมสิทธิในทรัพย์ที่จะจำนอง
สัญญาจำนองต้องทำเป็นหนังสือและนำไปจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่
ต้องไปจดทะเบียนต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ที่มีอำนาจรับจดทะเบียนจำนองตามกฎหมาย
สิทธิจำนองครอบเพียงใด
จำนองย่อมครอบไปถึงบรรดาทรัพย์สินซึ่งจำนองหมดทุกสิ่ง แม้จะได้ชำระหนี้แล้วบางส่วน
สิทธิของผู้จำนองและผู้รับจำนอง
สิทธิและหน้าที่ของผู้จำนอง ผู้จำนองซึ่งจำนองทรัพย์สินของตน เพื่อประกันหนี้ที่บุคคลอื่นต้องชำระมีสิทธิที่จะได้รับเงินใช้คืนจากลูกหนี้เมื่อได้เข้า ชำระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้แทนลูกหนี้หรือถูกเจ้าหนี้บังคับจำนอง ผู้จำนองตั้งแต่ ๒ คนขึ้นไป ซึ่งจำนองทรัพย์สินเพื่อประกันหนี้ที่บุคคลอื่นต้องชำระโดยมิได้ระบุลำดับไว้ ผู้จำนอง
การโอนทรัพย์สินซึ่งจำนอง
กรรมสิทธิในทรัพย์สินซึ่งจำนองโอนไปยังอีกฝ่ายหนึ่งในฐานะผู้รับซื้อ เป็นทรัพยสิทธิ สิทธิจำนองจะติดไปกับตัวทรัพย์นั้น
การบังคับจำนอง
เป็นกระบวนการหนึ่งในการจำนองทรัพย์สิน เพื่อเป็นหลักประกันในการชำระหนี้
ความระงับแห่งสัญญาจำนอง
(1) เมื่อหนี้ที่ประกันระงับสิ้นไปด้วยเหตุประการอื่นใดมิใช่เหตุอายุความ
(2) เมื่อปลดจำนองให้แก่ผู้จำนองด้วยหนังสือเป็นสำคัญ
(3) เมื่อผู้จำนองหลุดพ้น
จำนำ
ความหมายของคำว่าจำนำ
ลักษณะสำคัญของจำนำ
ทรัพย์ที่นำจำครอบเพียงใด
เป็นประกันหนี้ประธานกับทั้งค่าอุปกรณ์ของหนี้ประธาน หนี้ประธาน ได้แก่ มูลหนี้ก็ให้เกิดสัญญาจำนำ
การจำนำสิทธิมีตราสาร
“ถ้าทรัพย์สินที่จำนำเป็นสิทธิซึ่งมีตราสาร และมิได้ส่งมอบตราสารนั้นให้แก่ผู้รับจำนำ ทั้งมิได้บอกกล่าวเป็นหนังสือแจ้งการจำนำแก่ลูกหนี้แห่งสิทธินั้นด้วยไซร้ ท่านว่าการจำนำย่อมเป็น โมฆะ”