Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิเคราะห์คุณค่าจาก นมัสการมาตาปิตุคุณและนมัสอาจริยคุณ, ใหญ่พื้นพสุนธรา...…
วิเคราะห์คุณค่าจาก
นมัสการมาตาปิตุคุณและนมัสอาจริยคุณ
คุณค่าด้านแนวคิด
มุ่งปลูกฝังให้สำานึก ในพระคุณของบิดามารดาและครูอาจารย์ อันเป็นพระคุณที่ยิ่งใหญ่ ซึ่งท่านเหล่านี้เป็นบุคคลที่อยู่ใกล้ตัว ที่สุด ผู้ที่มีความกตัญญูกตเวทีย่อมทำาดีและคิดดี ความกตัญญูจึงเป็นเครื่องหมายของคนดี
:star:คุณค่าด้านเนื้อหา
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ และบทนมัสการอาจริยคุณ
มุ่งปลูกฝังให้สำนึกในพระคุณของบิดามารดาและครู
นับว่าเป็นพระคุณที่ยิ่งใหญ่ ซึ่งท่านเหล่านี้เป็นบุคคลที่อยู่ใกล้ตัวพวกเรามากที่สุด
ผู้ที่มีความกตัญญูกตเวทีย่อมทำดีและคิดดี
ความกตัญญูจึงเป็นเครื่องหมายของคนดี
ประวัติผู้แต่ง :
พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร) เกิดวันที่ ๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๓๖๕ เป็นกวีคนสำคัญในสมัยรัชกาลที่ ๕ เป็นผู้แต่งตำราชุดแรกของไทย ก็คือ“แบบเรียนหลวง” ถึงแก่อนิจกรรมเมื่อวันที่ ๑๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๓๔ รวมสิริอายุได้ ๖๘ ปี
คุณค่าด้านสังคม :silhouettes:
การลำดับความได้ชัดเจน คำนมัสการมาตาปิตุคุณและ
อาจริยคุณมีการลำดับเนื้อหาอย่างเหมาะสม ชัดเจน โดย
ในคำนมัสการมาตาปิตุคุณ มีการกล่าวถึงบทบาทหน้าที่
ของพ่อแม่ที่คอยเลี้ยงดูลูกจนเติบใหญ่ คำนมัสการอาจาริย
คุณ ที่กล่าวถึงบทบาทหน้าที่ของครูอาจารย์ที่คอยสั่งสอน
และให้ความรู้ทั้งทางธรรมและทางโลก
วรรณคดีเรื่องนี้มีจุดเด่นในการสะท้อนให้เห็นภาพสังคมในอดีตและจรรโลงสังคม
มีการสอนจริยธรรม จะเห็นได้ว่า บทเรียนเรื่องนี้ เป็นสิ่งที่เพื่อน ๆ นำไปใช้ได้จริง ด้วยการรู้จักสำนึกในพระคุณของบิดามารดาและครูอาจารย์ นับเป็นการใช้บทประพันธ์เพื่อปลูกฝังจริบธรรมได้เป็นอย่างดี
:pen:คุณค่าด้านวรรณศิลป์
:star:
การเล่นเสียงสัมผัส
สัมผัสพยัญชนะ เช่น “ฟูมฟักทะนุถนอม” สัมผัสคือ ฟูม-ฟัก และ ทะนุ-ถนอม สัมผัสสระ เช่น “ชี้แจงและแบ่งปัน” สัมผัสคือ แจง-แบ่ง
:star:
การใช้ความเปรียบ
ทำให้เกิดความหมายลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น เช่น
:star:
การเล่นเสียงหนัก-เบา
อย่างเป็นจังหวะทำ ให้เกิดความไพเราะ เช่น “ก็ บ เทียบ บ เทียมทัน” หรือ “ก็สว่างกระจ่างใจ” เล่นเสียง
เบา-หนัก-เบา-หนัก
:star:
การซ้ำคำ
มีการใช้คำที่ออกเสียงเหมือนกันมาวางไว้ในตำแหน่งใกล้กัน แต่มีการใช้คำอื่นแทรกลงไป ทำให้การออกเสียงมีความไพเราะและน่าสนใจ เช่น ก็ บ่ เทียบ บ่ เทียมทัน มีการใช้คำว่า “บ่” แทรกกลางระหว่างคำว่า “เทียบ” และ “เทียม” ที่ออกเสียงคล้ายคลึงกัน
:star:
การใช้ภาพพจน์
มีการใช้ภาพพจน์เพื่อเปรียบเทียบระหว่างบุญคุณของพ่อแม่กับสิ่งต่าง ๆ เพื่อให้เห็นถึงความสำคัญและความยิ่งใหญ่ของพระคุณของท่านใช้
“อุปลักษณ์” ในการเปรียบเทียบ มีการเปรียบเทียบบุญคุณของพ่อแม่ว่าหนักแน่นเท่าภูผา หรือภูเขา และยิ่งใหญ่เท่าพสุนธราหรือแผ่นดิน
:<3:การประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
เมื่อเราโตเป็นผู้ใหญ่แล้วเราต้องกลับมาดูแลบิดามารดาเพื่อขอบคุณบิดามารดาที่เลี้ยงดูเรามา
เราควรเชื่อฟังคำสอนของครูอาจารย์และพ่อแม่
เพื่อให้ผู้อ่านได้ประจักษ์ในคุณค่าของชีวิต ได้ความคิดและประสบการณ์จากเรื่องที่อ่าน และนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต นำไปเป็นแนวปฏิบัติหรือแก้ปัญหา
การปฏิบัติต่อพ่อ-แม่ :<3:
:check:
ช่วยเหลือบิดา มารดาทำงานที่พอจะช่วยได้
เมื่ออยู่ในวัยเรียนก็หมั่นหาความรู้และศึกษาเล่าเรียนอย่างเต็มที่ เพื่อจะได้มีความรู้และวิชาชีพสำหรับเลี้ยงตัวเองได้
ให้ความเคารพ เชื่อฟังและปฏิบัติตามคำสั่งสอนอบรมด้วยความเต็มใจ ไม่โต้เถียงหรือหลบเลี่ยงเกี่ยงงอนให้ผู้อื่นทำ
รู้จักประหยัดและออมทรัพย์ รู้จักประหยัดโดยการเลือกซื้อของต่าง ๆ ที่จำเป็นและเหมาะสมให้คุ้มค่ากับเงินที่จ่ายไป
ปฏิบัติตนเป็นคนดีมีระเบียบวินัย มีกริยามารยาทรักษาชื่อเสียงเกียรติยศของวงศ์ตระกูล
:silhouette:การปฏิบัติต่อครู-อาจารย์
ให้ความเคารพครูทุกท่าน
มีสัมมาคารวะต่อ ครู อาจารย์ ทั้งกายวาจาและใจ
ชื่อฟังและปฏิบัติตามคำอบรมสั่งสอนของครู อาจารย์ ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน
กตัญญูกตเวทีต่อครู อาจารย์ โดยการตั้งใจเรียน
:red_flag:ข้อคิดที่ได้จากเรื่อง
ครูเป็นผู้ที่อบรมสั่งสอนทั้งวิชาความรู้และความดีทางจริยธรรม
พระคุณของผู้เป็นบิดา มารดา เป็นพระคุณที่ยิ่งใหญ่
ตัวอย่างอินทรวิเชียร 11
ใหญ่พื้นพสุนธรา.............................ก็ บ เทียบ บ เทียมทัน
เปรียบหนักชนกคุณ................ชนนีคือภูผา
พระยาศรีสุนทรโวหาร
รัชกาลที่ 5 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ความรักมิใช่ใคร่.......อุชุใจและรักมั่น
ยั่วเย้าพะนอกัน...........อภิบาลมิห่างกาย
มีพบก็มีจาก..................พจีใดมิบรรยาย
ไม่หวนและห่างหาย.......มติโศกอุราเศร้า