Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะบกพร่องทางสติปัญญา (Intellectual disability : ID), นางสาวกัญติญา…
ภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
(Intellectual disability : ID)
การวินิจฉัยภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
DSM-5
:red_flag:
บกพร่องทางเชาว์ปัญญาหรือสติปัญญา
(Deficit in intellectual functions)
มีความบกพร่องของการปรับตัว (Deficits in adaptive functioning)
มีความบกพร่องทางสติปัญญาและการปรับตัวที่เริ่มแสดงอาการตั้งแต่ในระยะพัฒนาการ (Developmental period)
ICD-10
:red_flag:
F70-F79
การประเมินระดับเชาว์ปัญญา
(Intelligence quotient : IQ test)
เป็นการประเมินความฉลาดทางเชาว์ปัญญาด้านการคิด
การใช้เหตุผล การคำนวณ และการเชื่อมโยง
IQ คนปกติ อยู่ระหว่าง 85-115
IQ ของผู้ที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา อยู่ระหว่าง 65-75
การประเมินระดับความรุนแรงของภาวะบกพร่องทางสติปัญญาต้องประเมินทั้ง IQและความสามารถในการช่วยเหลือตนเอง
: :
ระดับของความบกพร่องด้านสติปัญญา
ระดับเล็กน้อย IQ 50-70
ดูแลตนเองได้ แต่ต้องการความช่วยเหลือบ้างเป็นครั้งคราว
เรียนได้ถึงชั้นประถมปลาย
ฝึกทักษะด้านสังคมและอาชีพได้
ทำงานที่ไม่ต้องใช้ทักษะหรือฝีมือ
ระดับปานกลาง IQ 35-49
พัฒนาการด้านภาษาค่อนข้างจำกัด
ต้องเรียนในชั้นเรียนพิเศษ
ฝึกทักษะช่วยเหลือตัวเองเบื้องต้นได้
เดินทางเองในสถานที่ที่คุ้นเคยได้
ทำงานที่ไม่ต้องใช้ทักษะฝีมือภายใต้การดูแลอย่างใกล้ชิดได้
ระดับรุนแรง IQ 20-34
ต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์
สื่อสารได้ค่อนข้างจำกัด
ต้องการความช่วยเหลือมาก
ระดับรุนแรงมาก IQ < 20 :warning:
ต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์
ต้องการความช่วยเหลือตลอดเวลา
ดูแลตนเองได้เล็กน้อยหรือไม่ได้เลย
เคลื่อนไหวได้น้อย (มีพยาธิสภาพ)
อาการ/ อาการแสดงของภาวะบกพร่องทางสติปัญญา :black_flag:
มีความบกพร่องของความสามารถทางสติปัญญา ส่งผลต่อกระบวนการคิด
:silhouette:
การคิดวิเคราะห์
การวางแผน
การคิดเชิงนามธรรม
การให้เหตุผล
การแก้ปัญหา
การตัดสินใจ
การเรียนรู้ IQ < 70
(เริ่มมีอาการก่อนอายุ 18 ปี)
ความสามารถในการปรับตัว (ต่อไปนี้) บกพร่องอย่างน้อย 2 ด้าน :silhouettes:
การสื่อความหมาย
การดูแลตนเอง
การดำรงชีวิตในบ้าน
ทักษะทางสังคม
ทักษะในการเรียน
การรู้จักใช้แหล่งทรัพยากรในชุมชน
การควบคุมตนเอง
การทำงาน
การใช้เวลาว่าง
การดูแลสุขภาพและความปลอดภัย
การบำบัดรักษาภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
หลักการ
ช่วยให้สามารถดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมตามปกติได้มากที่สุด
ควรได้รับการกระตุ้นพัฒนาการตั้งแต่ระยะแรก (early intervention)
การช่วยเหลือขึ้นอยู่กับอายุและความรุนแรงของโรค
➢การรักษาโรคทางกายที่เป็นสาเหตุ โดยเฉพาะโรคที่สามารถรักษาได้ เช่น
Hypothyroidism, Phenylketonuria และ Hydrocephalus
โรคที่เป็นแต่กำเนิดหรือเกิดจากความผิดปกติของโครโมโซม
→ประคับประคอง/ดูแลตามอาการ
➢การรักษาด้วยยาทางจิตเวช ในกรณีที่มีพฤติกรรม เช่น ก้าวร้าว สมาธิสั้น ฯลฯ
➢ส่งเสริมและกระตุ้นพัฒนาการตามความเหมาะสม
➢การทำกายภาพบำบัด เพื่อแก้ไขการเคลื่อนไหวที่ผิดปกติ ลดการยึดติดของข้อ
➢กิจกรรมบำบัด เน้นการฝึกใช้กล้ามเนื้อมัดเล็ก เช่น การหยิบจับสิ่งของเพื่อฝึกการทำงานประสานกันของตาและมือ
➢อรรถบำบัด (speech therapy) ฝึกการพูด การออกเสียง
➢ฟื้นฟูสมรรถภาพทางการศึกษา (educational rehabilitation)
➢เน้นให้เรียนร่วมกับเด็กปกติ เพื่อให้สามารถพัฒนาการไปสู่ระดับที่สูงขึ้นได้ แต่ต้องให้ความช่วยเหลือเพิ่มเติมตามความเหมาะสม และจัดการศึกษาพิเศษ (special education)
ให้ในรายที่จำเป็นเท่านั้น
➢การฟื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพ
➢การให้คำปรึกษาครอบครัว โดยให้คำปรึกษาและความช่วยเหลือตามสภาพปัญหาในแต่ละระยะ
การฟื้นฟูสมรรถภาพ :recycle:
เน้น 3ด้าน
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์ (medical rehabilitation)
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการศึกษา (educational rehabilitation)
3.การฟื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพ (vocational rehabilitation)
กระบวนการพยาบาลสำหรับผู้ที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา
:smiley:
1. การประเมิน (Assessment)
การซักประวัติ/สัมภาษณ์ : ประวัติการตั้งครรภ์
การคลอด พัฒนาการด้านต่าง ๆ
การตรวจร่างกาย
การประเมินระดับเชาว์ปัญญา
การตรวจสภาพจิต
การประเมินศักยภาพครอบครัวในการดูแลเด็ก
2. การกำหนดข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
(Nursing diagnosis)
บกพร่องในการดูแลตนเองในชีวิตประจ าวันเนื่องจากพัฒนาการล่าช้า
วิธีการเผชิญปัญหาไม่มีประสิทธิภาพเนื่องจากพร่องความสามารถในการเรียนรู้
ผู้ดูแลมีความวิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคและการรักษา
3. การวางแผนการพยาบาล (Planning)
ระดับความรุนแรงของความบกพร่องในการทำหน้าที่ของสมอง
ความสามารถของบุคคลในการปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อม
4. การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด
การประเมินระยะพัฒนาการ กระบวนการคิด การรับรู้ อารมณ์ พฤติกรรม และการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย ป้องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น
กระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม โดยเน้นทักษะด้านร่างกายและทักษะในการดำรงชีวิตประจำวัน
ใช้เทคนิคการปรับพฤติกรรม การเสริมแรง ฯลฯ
การทำกายภาพบำบัด กิจกรรมบำบัด การฝึกพูด
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางการศึกษา
การฟื้นฟูสมรรถภาพทางอาชีพ
5. การประเมินผลการพยาบาล (Nursing evaluation)
สามารถดูแลตนเองในชีวิตประจำวันได้ตามศักยภาพ
ปลอดภัยจากการเกิดอันตรายและภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ
ครอบครัวสามารถดูแลเด็กภาวะบกพร่องทางสติปัญญาได้
นางสาวกัญติญา บุตรดา
รหัสนักศึกษา 6413004