Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ที่เป็นโรคจิตเภท
(Schizophrenia)
image, นางสาวกัญติญา …
การพยาบาลผู้ที่เป็นโรคจิตเภท
(Schizophrenia)
Schizophrenia
โรคจิตเภท (schizophrenia) หมายถึง โรคที่มีความผิดปกติของความคิดเป็นอาการเด่น แต่ส่งผลถึงการรับรู้อารมณ์ และพฤติกรรม อาการเกิดขึ้นอย่างเนื่องเป็นเวลาอย่างน้อย 6 เดือน
- ปัจจัยด้านชีวภาพ (biological factors)
- พันธุกรรม (genetic)
- สารสื่อประสาทในสมอง (neurotransmitter)
- กายวิภาคของสมอง (anatomy of the brain)
- ประสาทสรีรวิทยา (neurophysiology)
- ปัจจัยที่เกิดขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ (perinatal factors)
- ปัจจัยด้านจิตใจ (psychological factors)
- จากทฤษฎีจิตวิเคราะห์ และทฤษฎีจิตวิทยาพัฒนาการ เชื่อว่าเกิดจากความผิดปกติของ พัฒนาการด้านบุคลิกภาพของบุคคลในวัยเด็ก โดยเฉพาะในขวบปีแรก ทำให้เกิดพยาธิสภาพในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการปรับตัว การควบคุมพฤติกรรม และการมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
- ปัจจัยด้านสังคมวัฒนธรรม (socio-cultural factors)
- รูปแบบการเลี้ยงดู - สภาพครอบครัว - เศรษฐานะ
- ลักษณะอาการทางคลินิกของผู้ที่เป็นโรคจิตเภท
-
- กลุ่มอาการด้านลบ (Negative symptoms)
-
-
-
-
- การดำเนินโรค :red_flag: สามารถแบ่งได้เป็น 4 ระยะ ได้แก่
- ระยะก่อนป่วย
- ระยะอาการนำ
- ระยะอาการกำเริบ และ
- ระยะอาการหลงเหลือ
- ระยะก่อนป่วย (premorbid phase)
- ช่วงเวลาก่อนที่จะมีอาการของโรคจิตเภทเกิดขึ้น โดยจะพบว่าผู้ป่วยเริ่มมีความบกพร่องของการทำหน้าที่ด้านความคิด(cognitive function)เช่น ความใส่ใจ (attention) ความจำ (memory) เป็นต้น นอกจากนี้ อาจพบความบกพร่องด้านสังคม และด้านการเคลื่อนไหว แต่ยังคงสามารถใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้
- ระยะอาการนำ (prodromal phase)
- เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงแบบค่อยเป็นค่อยไป ในช่วงแรกอาจมีอาการวิตกกังวลหรือซึมเศร้าที่ไม่เฉพาะเจาะจงกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง และตามมาด้วยลักษณะคล้ายอาการด้านลบ เช่น เริ่มมีพฤติกรรมเฉื่อยชา ไม่อยากทำอะไร ในขณะเดียวกันจะเริ่มมีอาการด้านบวกแบบน้อย ๆ (attenuated positive symptoms) เช่น เชื่อเรื่องโชคลาง ไสยศาสตร์ โดยทั่วไปจะอยู่ระหว่าง 2-5 ปี ก่อนอาการกำเริบ
- ระยะอาการกำเริบ (active phase)
- กลุ่มอาการด้านบวกทำให้สังเกตเห็นอาการทางจิตได้ชัดเจน อาการสำคัญที่ทำให้ผู้ป่วยถูกพาเข้ารับการรักษาในระยะนี้ ได้แก่ อาการประสาทหลอน อาการหลงผิด และการมีพฤติกรรมที่ผิดปกติไปอย่างเห็นได้ชัด / อาการด้านลบ เช่น เก็บตัวมากขึ้น ไม่ดูแลตนเองด้านสุขอนามัยอย่างมาก เป็นต้น /เมื่อรักษาอยู่นานประมาณ 6 เดือนอาการจึงเริ่มทุเลา
- ระยะอาการหลงเหลือ (residual phase)
- เป็นระยะหลังจากที่ผู้ป่วยได้รับการรักษาแล้ว อาการด้านบวกทุเลาลงหรือหายไป แต่อาการด้านลบยังคงอยู่ ในบางรายอาจยังคงมีอาการด้านบวก + เช่น อาการประสาทหลอนหูแว่ว แต่ไม่รุนแรง และผู้ป่วยสามารถอยู่ร่วมกับอาการเหล่านี้ได้
- เนื่องจากได้รับการรักษาด้วยยาร่วมกับการบำบัดทางจิตสังคม ส่วนอาการด้านลบ - ที่ยังคงอยู่นั้น
จะพบความบกพร่องของความสามารถในการทำหน้าที่ต่าง ๆ บางรายอาจนอนทั้งวัน ไม่ดูแลตนเองด้านสุขอนามัย แต่ไม่ได้อยู่ในระดับที่รุนแรง
-
- กระบวนการพยาบาลสำหรับผู้ที่เป็นโรคจิตเภท :<3: กระบวนการพยาบาลทั้ง 5 ขั้นตอน
-
-
-
-
-
-