Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 2 สร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต - Coggle Diagram
บทที่ 2
สร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต
ความหมายและที่มาของคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับพลเมือง
พจนานุกรมนักเรียนฉบับราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมาย “พลเมือง” หมายถึง ชาวเมือง ชาวประเทศ
ประชาชน
ประเทศไทย คำว่า “พลเมือง” น่าจะถูกนำมาใช้สมัยหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.2475
เนื่องจากผู้นำคณะราษฎรบางท่านเคยเรียนที่ประเทศฝรั่งเศส
เกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อเกิดการปฏิวัติใหญ่ในฝรั่งเศส เริ่มต้นเมื่อ
ปี ค.ศ. 1789 ชาวฝรั่งเศสลุกฮือกันขึ้นมาล้มล้างระบอบการปกครองของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ล้มล้างระบบชน
ความละอายและความไม่ทนต่อการทุจริต
ความละอายระดับต้น
ไม่กล้าที่จะทำในสิ่งที่ผิดเนื่องจากกลัวว่า
เมื่อตนเองได้ทำลงไปแล้วจะมีคนรับรู้ หากถูกจับได้จะได้รับการลงโทษ หรือได้รับความเดือดร้อนจากสิ่งที่
ตนเองได้ท าลงไป จึงไม่กล้าที่จะกระทำผิด
ความละอายระดับที่สูง
แม้ว่าจะไม่มีใครรับรู้หรือเห็นในสิ่งที่ตนเองได้ทำาลงไป็ไม่
กล้าที่จะทำผิด เพราะนอกจากตนเองจะได้รับผลกระทบแล้วครอบครัว สังคมก็จะได้รับผลกระทบตามไปด้วย ทั้ง
ชื่อเสียงของตนเองและครอบครัวก็จะเสื่อมเสีย
การลงโทษทางสังคม
การลงโทษโดยสังคมเชิงบวก
จะอยู่ในรูปของการให้การ
สนับสนุนหรือการสร้างแรงจูงใจ หรือการให้รางวัลแก่บุคคลและสังคม เพื่อให้ประพฤติปฏิบัติสอดคล้อง
กับปทัสถาน
การลงโทษโดยสังคมเชิงลบ
คือการลงโทษเมื่อสมาชิกไม่ปฏิบัติตาม
กฎเกณฑ์ของสังคม อยู่ในรูปแบบของการใช้มาตรการต่างๆ ในการจัดระเบียบสังคม
การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบโดยบทบาทของภาคประชาชน
มีความมุ่งมั่นตั้งใจที่จะอาสาเข้ามาท างานเพื่อประโยชน์ของบ้านเมือง
ติดอาวุธทางปัญญาให้กับตัวเอง
ต้องสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน
การเฝ้าระวังพื้นที่ที่เห็นว่าสุ่มเสี่ยงต่อการแสวงหาผลประโยชน
ดำเนินกิจกรรมต่างๆ เพื่อรณรงค์ต่อต้านการทุจริตอย่างต่อเนื่องในชุมชน
ส่งเสริมให้ประชาชนได้เข้าไปมีบทบาทในการป้องกันการทุจริตการเลือกตั้งทุกระดับ
ส่งเสริมให้ประชาชนได้เข้าไปมีบทบาทในการป้องกันการทุจริตการบริหารงานของ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
จัดให้มีการแลกเปลี่ยนและรับฟังความคิดเห็น
จัดให้มีกิจกรรมเผยแพร่ชื่อเสียงเกียรติคุณ