Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Subdural hematoma with Midline shift, : - Coggle Diagram
Subdural hematoma with Midline shift
ข้อมูลผู้ป่วย
Subdural hematoma with Midline shift
หมายถึง
ภาวะเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมองเฉียบพลันร่วมกับมีร่องกลางของสมองเคลื่อนไปจากตรงกลาง
เพศชาย อายุ 42 ปี
อาการสำคัญ :
เรียกไม่รู้สึกตัว 30 นาทีก่อน มาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน :
2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาลตกจากเก้าอี้หงายหลังศีรษะกระแทกพื้นไม่ได้รับการรักษาที่ใด 30 นาที ก่อนมาโรงพยาบาล ญาติพบผู้ป่วยนอนกับพื้นไม่รู้สึกตัว หายใจเป่าปาก จึงนำส่งโรงพยาบาล E1V2M1 pupil right eye 4 mm left eye 3 mm RTL. BE แพทย์พิจารณา On Et tube และ ส่ง CT brain: พบ acute subdural hematoma measuring 8.6 cm. midline shift to left 5.25 mm.
สาเหตุ
การเสพติดยาโคเคน
สมองฝ่อ
มะเร็งแพร่กระจายมาที่เยื่อหุ้มสมอง dura
ประวัติได้รับบาดเจ็บหลายครั้ง
เนื้องอกของสมองชนิด meningioma
ผู้สูงอายุ
arteriovenous malformation (AVM)
ประวัติมีการใช้ยาละลายลิ่มเลือด
หลอดเลือดโป่งพองในสมอง (aneurysm)
โรคเลือดออกผิดปกติชนิด hemophilia
การได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ
ตกจากเก้าอี้หงายหลังศีรษะกระแทกพื้น ไม่ได้สติ
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะสมองเคลื่อน
ภาวะช็อค
การมีเลือดออกในสมอง
ความพิการ
ภาวะความดันในสมองสูง
ปัญหาสุขภาพจิต
ภาวะติดเชื้อในร่างกาย
ภาวะสมองบวม
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
ปัญหาที่ 4 ปวดศีรษะเนื่องจากศีรษะได้รับการกระทบกระเทือนและมีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมอง
(ระยะก่อนและหลังการผ่าตัด)
ปัญหาที่ 5 อาจเกิดอันตรายจากภาวะโซเดียมในเลือดต่ำ (ระยะหลังการผ่าตัด)
ปัญหาที่ 3 อาจเกิดภาวะพร่องออกซิเจนจากประสิทธิภาพการขับเสมหะลดลง (ระยะก่อนและหลังการผ่าตัด)
ปัญหาที่ 6 บกพร่องการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันเนื่องจากระดับความรู้สึกตัวลดลง (ระยะก่อนและหลังการผ่าตัด)
ปัญหาที่ 2 อาจเกิดอันตรายจากภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ(ระยะก่อนและหลังการผ่าตัด)
ปัญหาที่ 7 ผู้ป่วยและญาติพร่องความรู้ในการสังเกตอาการผิดปกติทางระบบประสาทและการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้าน (ระยะหลังผ่าตัด)
ปัญหาที่ 1 มีภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูงเนื่องจากอาจมีเลือดออกใต้เยื่อหุ้มสมอง(ระยะก่อนและหลังผ่าตัด)
พยาธิสภาพ
subdural hematoma การมีเลือดออกที่ตำแหน่งระหว่างเยื่อหุ้ม dura และชั้น arachnoid ในสภาพชั้นนี้จะเป็นแผ่นบางๆ ที่มีเส้นเลือดดำอยู่ และเป็นชั้นที่สามารถฉีกขาดง่ายจากการได้รับบาดเจ็บทําให้หลอดเลือดฉีกขาด
2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาลตกจากเก้าอี้หงายหลังศีรษะกระแทกพื้น
ทำให้เกิดการได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะจนเกิดการฉีกขาดของหลอดเลือดดำ (bridging vein)
ซึ่งปกติรับเลือดจากผิวของเนื้อสมองแล้วทอดไปยังแอ่งเลือดดำ dural sinuses ที่อยู่ใต้เยื่อหุ้มสมอง dura
เมื่อbridging veinฉีกขาดก็จะทำให้มีเลือดออกสะสมอยู่ใต้เยื่อหุ้มสมองชั้นdura + โรคประจำตัวคือโรคไขมันในหลอดเลือด
ทำให้เพิ่มความดันในกะโหลกศีรษะ+การกดเนื้อสมอง
ความดันในกระโหลกศีรษะสูงส่งผลต่อหลอดเลือดบริเวรสมองทำให้หลอดเลือดโดนกดทำบเลือดไม่สามารถไปเลี้ยงสมองได้
ความดันในกระโหลกศีรษะสูงรุนแรง
แรงดันเลือดในสมองลดลง
ความดันในร่างกายเพิ่มขึ้นเพื่อช่วยให้เลือดไปเลี้ยงสมอง BP : 200/100 mmHg
ความดันในกระโหลกศีรษะสูงขึ้น
แรงดันเลือดในสมองลดลง
มีอาการปวดศีรษะ Painscore 3 - 4 คะเเนน
ผู้ป่วยนอนกับพื้นไม่รู้สึกตัว E1V2M1
pupil right eye 4 mm และ left eye 3 mm
CT brain: พบ acute subdural hematoma measuring 8.6 cm. midline shift to left 5.25 mm.
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาลตกจากเก้าอี้หงายหลังศีรษะกระแทกพื้นไม่ได้รับการรักษาที่ใด 30 นาที ก่อนมาโรงพยาบาล ญาติพบผู้ป่วยนอนกับพื้นไม่รู้สึกตัว หายใจเป่าปาก จึงนำส่ง โรงพยาบาล
โรคประจำตัวเป็น dyslipidemia
สูบบุหรี่ประมาณ 20 มวนต่อวัน เป็น เวลา 20
ปี ดื่มสุราทุกวัน
ตรวจร่างกาย
ทั่วไป
BP=154-99/53-95 mmHg,
HR 66-106 /min,
RR 20 /min,
O2sat 100%
การตรวจทางระบบประสาท
การตอบสนองของรูม่านตาต่อแสง
pupil right eye 4 mm และ left eye 3 mm
Pupil eye 3 mm
pupil 3 mm
การประเมินระดับความรู้สึกตัว
แรกรับ : E1V2M1
แรกรับที่หอ : E1VtM5
หลังการถอดท่อช่วยหายใจ : E1V3M5
หลังผ่านตัด : E1VtM1
หลังผ่านตัด วันที่ 2 : E4VTM6
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
WBC 15,350 cell/cu.mm.
Hct. 41.8%.
platelet 157,000 cell/cu.mm.
PT 15.4 (10.2-13).
PTT 28.3(21.9- 29.5).
INR 1.33
creatinine 0 .60 mg/dl.
blood sugar 165 mg/dl.
serum sodium 142 mmol/L.
serum potassium 2.9 mmol/L.
serum chloride 95 mmol/L.
serum TCO2 13.3 mmol/L.
BUN 5 mg/dl.
ผลการตรวจพิเศษอื่นๆ
CT brain พบ acute subdural hematoma measuring 8.6 cm. and midline shift to left 5.25 mm.
CT brain พบ increase amount of a right frontoparieto-temporo acute SDH now measuring 1.8 cm in thickness. midline shift 1.8 cm.
อาการและอาการแสดง
จะขึ้นกับตำแหน่งและความรุนแรงที่ได้รับบาดเจ็บ
Brain Contusion
สมองช้ำ บวมหรืมีเลือดออกเป็นจุดๆ มีการฉีกขาดของหลอดเลือดหรือเยื่อยุ้มสมองฉีกขาด ทำให้เกิดการช้ำเนื้อสมองบาดเจ็บ สมองขาดออกซิเจนคาร์บอนไดออกไซด์คั่ง
ทำให้หมดสติ มีอัมพาต สับสน
frontal lobes , orbital gyri , Temporal lobes
Laceration of the brain
การบาดเจ็บแบบแผลเปิด อันตรายถึงชีวิตมีผลต่อปริมาตรเนื้อเยื่อ
กรณีถูกยิง เกิดความผิดปกติทางระบบประสาท ทำให้ซักเสียชีวิต
Brain Concussion
สมองได้รับการกระทบกระเทือนจากแรงกระแทกมีการบาดเจ็บแบบกระจาย
มักบาดเจ็บที่ temporal lobe บริเวณ RAS ผู้ป่วยจะจำเหตุการณ์ไม่ได้ มึนงง ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน
สูญเสียการรับรู้สติแบบชั่วคราว
การรักษา
การผ่าตัด
ป่วยได้รับการผ่าตัด craniotomy with remove clot (เปิดกะโหลกเพื่อระบายเลือด)
การใช้ยา
ก่อนผ่าตัด
dilantin 750 มก. in 0.9% NSS 100 ซีซี IV. drip ใน 30 นาที หลังจากนั้นให้ dilantin 100 มก. IV ทุก 8 ช.ม.
nicardipine (1:5) IV 10 ml/hr
หลังผ่าตัด
dilantin 750 มก. in 0.9% NSS 100 ซีซี drip ใน 30 นาทีทันที หลังจากนั้นให้ dilantin 100 มก. IV. ทุก 8 ชั่วโมง
Cefazolin 1 กรัม IV ทุก 6 ชม.
dexamethasone 4 mg IV ทุก 6 ชั่วโมง
Plasil 10 mg IV ทุก 6 ชม.
berodual 1 NB ทุก 6 ชั่วโมง และพ่น adrenaline (1:10,000) 4 ml ทุก 6 ชั่วโมง
สรุปปัญหาที่พบ
ปัญหาที่พบก่อน Admit
ญาติพบผู้ป่วยนอนกับพื้นไม่รู้สึกตัว
E1V2M1
pupil right eye 4 mm และ left eye 3 mm
CT brain: พบ acute subdural hematoma measuring 8.6 cm. midline shift to left 5.25 mm.
ประเมินสัญญาณเตือนภาวะวิกฤต MEWS 3 คะแนน
ปัญหาที่พบแรกรับที่หอผู้ป่วยศัลยกรรมอุบัติเหตุชายชั้น 1
ผู้ป่วยซึม
คะแนน MEWS 3 คะแนน
GCS E1VtM5
Pupil eye 3 mm
กำลัง แขนซ้าย grade 3
กำลัง ขาทั้ง 2 ข้าง grade 0
ประเมินสัญญาณเตือนภาวะวิกฤต MEWS ได้ 5 คะแนน
ปัญหาที่พบภายหลังที่ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้นและได้รับการถอดท่อช่วยหายใจ จนเมื่อเข้าสู่วันที่ 10
ผู้ป่วยมีอาการปวดศีรษะ มึนงง
GCS: E1V3M5
Motor power Rt. side grade 4 Lt. side grade 2
BP= 200/100 mmHg
CT brain พบ increase amount of a right frontoparieto-temporo acute SDH now measuring 1.8 cm in thickness. midline shift 1.8 cm.
MEWS 3 คะแนน
ปัญหาที่พบหลังผ่านตัด
E1VtM1
Motor power both side grade 0
มีแผลผ่าตัดที่ศีรษะ
BP=142/92 mmHs
BT 38.2 องศาเซลเซียส
MEWS 3 คะแนน
ปัญหาที่พบหลังผ่านตัด วันที่ 2
GCS E4VTM6
pupil 3 mm
มีสารคัดหลั่งสีแดงคล้ำออก 20 ซีซี
ปวดศีรษะพอทนได้ pain score = 3-4 คะแนน
BP= 158-111/80-98 mmHg
MEWS 2 คะแนน
ปัญหาที่พบหลังผ่านตัด วันที่ 7
ไอมีเสมหะสีขาว เล็กน้อย
ปวดศีรษะพอทน, pain score = 3 คะแนน
BT 36.5-37.9 องศาเซลเซียส
BP= 182-134/78-104 mmHs
ปัญหาที่พบผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
WBC 15,350 cell/cu.mm,
platelet 157,000 cell/cu.mm,
PT 15.4 (10.2-13),
INR 1.33,
BUN 5 mg/dl,
creatinine 0 .60 mg/dl,
blood sugar 165 mg/dl,
serum potassium 2.9 mmol/L
serum TCO2 13.3 mmol/L.
ปัญหาที่พบหลังผ่านตัด วันที่ 10
BP=154-99/53-95 mmHg
ญาติสอบถามเกี่ยวกับการปฏิบัติตนเมื่อกลับอยู่ที่บ้าน
ปัญหาที่พบในผลการตรวจพิเศษอื่นๆ
ครั้งที่ 1 CT brain พบ acute subdural hematoma measuring 8.6 cm. and midline shift to left 5.25 mm.
ครั้งที่ 2 CT brain พบ increase amount of a right frontoparieto-temporo acute SDH now measuring 1.8 cm in thickness. midline shift 1.8 cm.
: