Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 10 กลุ่มเป้าหมายและการศึกษาชุมชนเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร …
หน่วยที่ 10 กลุ่มเป้าหมายและการศึกษาชุมชนเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
สภาพทั่วไปของกลุ่มเป้าหมายและการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย
การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย
หลักมนุษยสัมพันธ์์
ทำให้ผู้อื่นเข้าใจตัวเรา
เข้าใจบุคคลอื่น
เข้าใจตนเอง
เข้าใจในธรรมชาติมนุษย์
หลักยุทธศาสตร์
หลักพัฒนาชุมชน
หลักการสื่อสาร
หลักการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ
หลักการสร้างมโนธรรม
สภาพทั่วไปของกลุ่มเป้าหมาย
การเมืองการปกครอง
ความรับผิดชอบของหน่วยงานรัฐ
การกระจายอำนาจการปกครอง
ศักยภาพของผู้นำ
การมีส่วนร่วมของประชาชน
สังคม
สังคมเกษตรกร
สังคมนอกภาคเกษตร
ผู้ประกอบการ
แรงงานอุตสาหกรรม
ธุรกิจบริการ
เยาวชน นักศึกษา
เศรษฐกิจ
รายได้ครัวเรือน
องค์ประกอบของรายได้
ครองครัวกลุ่มประชากรเป้าหมาย
แนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาชุมขน
แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน และการศึกษาชุมชน
การศึกษาชุมชนหมายถึง กระบวนการศึกษาเกี่ยวกับชุมชนในด้านต่างๆ ทั้งด้าน กายภาพ ชีวภาพ เศรษฐกิจ การเมือง สังคม และวัฒนธรรม อย่างรอบด้านเพื่อนำไปสู่การแสวงหาการแก้ไขปัญหาหรือนำไปสู่หนทางการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิด
แนวคิดทางสังคมวิทยา
แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์
แนวคิดทางนิเวศวิทยาการเกษตร
หลักการ ขอบเขต วัตถุประสงค์ แและประเภทของการศึกษาชุมชน
หลักการ
ปรากฎการณ์ทางสังคมและวัฒนธรรม
มีความสลับซับซ้อน
ความหมายในสังคมหนึ่งจะถูกกำหนดขึ้นและเข้าใจในกลุ่มคนที่อยู่ในสภาพแวดล้อมและวัฒนธรรม
ศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
ขอบเขต
ความสัมพันธ์ของสังคม
ลักษณะเศรษฐกิจชุมชน
ลักษณะวัฒนธรรม
มิติทางประวัติศาสตร์
วิเคราะห์เชิงโครงสร้าง
วัตถุประสงค์
ทราบคุณลักษณะและประเภทชุมชน
ทราบรูปแบบการเปลี่ยนแปลงชุมชน
เพื่อทราบปัญหาของชุมชนนั้นๆ
เพื่อวางแผนพัฒนาการเกษตร
ประเภท
ตามวัตถุประสงค์
เนื้อหา วิธีการเก็บข้อมูล
วิธีวิเคราะห์ข้อมูล
จำนวนผู้ศึกษา
ทัศนะของผู้ศึกษากลุ่มบุคคลที่มีบทบาท
การศึกษาชุมชน
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
ปัจจัยที่เป็นอุปสรรค
ความขัดแย้งในผลประโยชน์
ระยะเวลาไม่เหมาะสม
การไม่ให้ความสำคัญของแผนภาคี
การไม่ต่อเนื่องการทำงาน
ความไม่มั่นใจของสมาชิก
ปัจจัยสู่ความสำเร็จ
การเสริมหนุนจากภายนอก
ระบบวิธีทำงาน
การพัฒนาแนวคิด
ด้านบุคลากร
ประโยชน์
สร้างกระบวนการมีส่วนร่วม
ทำให้เห็นศักยภาพของตนเอง
สมาชิกทุกภาคส่วนพัฒนาตนเอง
เกิดการปรับทัศนคติ
เป็นเครื่องมือรู้จักตนเอง
เกิดการพัฒนาอย่างรอบด้าน
กระบวนการศึกษา วิเคราะห์และวินิจฉัยชุมชน
กระบวนการวินิจฉัยชุมชน
ศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน
วินิจฉันหาสาเหตุของปัญหาและความต้องการของชุมชน
วินิจฉัยแนวทางแนวทางแก้ไขปัญหาตามความต้องการของชุมชน
วินิจฉัยความสามารถในการแก้ไขปัญหา
กระบวนการวิเคราะห์ชุมชน
วิเคราะห์ระบบการเกษตร
วิเคราะห์การรับจ่าย
วิเคราะห์ความจำเป็นพื้นฐานของชุมชน
วิเคราะห์บทบาทหญิงชายเพื่อวางแผน
วิเคราะห์ทางสังคม
วิเคราะห์ทางเศรษฐกิจของชุมชน
วิเคราะห์การใช้เทคโนโลยีและการแพร่กระจายวัฒนธรรม
กระบวนการศึกษาชุมชน
แนวคิด
การสังเกตปรากฎการณ์ทางสังคม
การตั้งสมมติฐาน
การทดสอบสมมติฐาน
การสรุปผลเป็นกฎและทฤษฎี
ขั้นตอน
กำหนดวัตถุประสงค์
ศึกษาแนวคิดและทฤษฎี
กำหนดชุมชนที่จะศึกษา
เตรียมทีมงานและเตรียมความพร้อมของชุมชน
กำหนดวิธีการและแผนการศึกษาชุมชน
เก็บรวมรวมวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิ
เก็บข้อมูลปฐมภูมิ
ประมวลข้อมูล ตรวจสอบ
วินิจฉัยและจัดลำดับความสำคัญ
จัดทำยุทธศาสตร์และแผนพัฒนาชุมชน
การจัดทำรายงานผลการศึกษาชุมชน