Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรณีศึกษา ผู้ป่วยหญิงไทย วัยสูงอายุ 69 ปี Dx. Congestive Heart Failure…
กรณีศึกษา ผู้ป่วยหญิงไทย วัยสูงอายุ 69 ปี
Dx. Congestive Heart Failure with bronchitis
Diabetes Mellitus type2
ความผิดปกติที่เบต้าเซลล์ของตับอ่อน
มีการสร้างและหลั่ง Insulin ได้น้อยลง
กล้ามเนื้อตับ มีภาวะดื้อต่อ Insulin
Insulin ออกฤทธิ์ได้ไม่เต็มที่
เซลล์ไม่สามารถนำน้ำตาลกลูโคส
ไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ระดับน้้ำตาลในเลือดสูงขึ้น
กล้ามเนื้อและไขมันสลาย
ได้กรดอะมิโนและกรดไขมัน
ตับเป็นแหล่งในการสร้างน้ำตาลกลูโคส
เข้าสู่กระแสเลือด
ส่งเสริมให้ระดับน้้าตาลในเลือดยิ่งสูงขึ้นกว่าระดับปกติ
เกิดคราบตะกรัน (Plaque) ในผนังหลอดเลือด
หลอดเลือดตีบแคบลง และขัดขวางการไหลของเลือด
1 more item...
เกิดการปริแตกฉับพลัน
1 more item...
ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้เนื่องจากตับอ่อนทำงานประสิทธิภาพลดลง
จุดมุ่งหมาย
ระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้
เกณฑ์การประเมิน
ไม่มีอาการของภาวะHypoglycemia ได้แก่ มือสั่น เหงื่อออก ตัวเย็น เวียนศีรษะ หน้ามืด ไม่มีแรง
ไม่มีอาการแสดงของภาวะ Hyperglycemia ได้แก่ ปากแห้ง กระหายน้ำ หายใจเร็ว ปวดศีรษะ
ระดับน้ำตาลปลายนิ้วอยู่ในช่วง 90-200 mg%
กิจกรรมการพยาบาล
ดูแลให้รับประทานอาหารเฉพาะโรคเบาหวาน อ่อนจืด และสังเกตอาการคลื่นไส้ อาเจียน ท้องอืด ท้องร่วง
อาหารเฉพาะโรคเบาหวาน จะเพิ่มใยอาหาร มีโปรตีนสูง เน้นแหล่งอาหารไขมันอิ่มตัว และเลี่ยงแหล่งคาร์โบไฮเดรตเชิงเดี่ยว
สังเกตและสอบถามอาการมือสั่นเหงื่อออก ตัวเย็น เวียนศีรษะ หน้ามืด ไม่มีแรง
อาการมือสั่นเหงื่อออก ตัวเย็น เวียนศีรษะ หน้ามืด ไม่มีแรง เป็นอาการแสดงของภาวะHypoglycemia ถ้ามีอาการดังกล่าวอาจพิจารณาให้อมลูกอม หรือจิบน้ำหวาน
สังเกตและสอบถามอาการปากแห้ง กระหายน้ำ หายใจเร็ว ปวดศีรษะ
อาการปากแห้ง กระหายน้ำ หายใจเร็ว ปวดศีรษะ เป็นอาการแสดงของภาวะ Hyperglycemia ถ้ามีอาการดังกล่าวแนะนำให้ผู้ป่วยดื่มน้ำเยอะๆ
เจาะน้ำตาลปลายนิ้วก่อนอาหารเวลา 11.00น. และ 15.00น. และดูแลให้ได้รับ RI ตาม Med scale ดังนี้
200-250 RI 2U SC
251-300 RI 2U SC
301-350 RI 2U SC
351-400 RI 2U SC
>400,<80 ให้ Notify เวลาhsให้เปลี่ยนไปใช้NPHแทนRI
Hypertension
การสะสมของแคลเซียมและเส้นใยคอลลาเจนเพิ่มขึ้น
ผนังหลอดเลือดจะเกิดการแข็งตัว
และตีบแคบ
ความสามารถใน
การไหลเวียนของเลือดลดลง
เกิดแรงต้านทานบริเวณหลอดเลือดส่วนปลายเพิ่มขึ้น
ความดันโลหิตสูง
ภาวะแทรกซ้อนในระบบหัวใจ สมอง ไต ตา
ระบบหัวใจ
หัวใจทำงานหนักมากขึ้น
2 more items...
ระบบประสาท
โรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน (cerebralthrombosis or infarction)
2 more items...
ตา
ทำให้ผนังหลอดเลือดแดงที่จอประสาทตา
(retinal artery)หนาตัวขึ้น
1 more item...
ไต
ทำลายหลอดเลือดภายในไต
1 more item...
หัวใจ
เพิ่มของการทำงานของ
หัวใจห้องล่างซ้าย
1 more item...
ภาวะหัวใจล้มเหลว(heart failure)
1 more item...
ภาวะหลอดเลือดแดงใหญ่โป่งพอง(aneurysm)
1 more item...
การปรับเปลี่ยนวิถีการดำเนินชีวิตที่เหมาะสม
(life style modification)
. การลดน้ำหนัก (weight reduction)
การที่สามารถคงระดับดัชนีมวลกายให้อยู่ในช่วง
18.50-24.90 กิโลกรัม/ตารางเมตร
จะสามารถลดความดันโลหิตได้5-20 มิลลิเมตรปรอท
25.33
การจำกัดปริมาณโซเดียม (sodium restriction)
ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดได
การลดการนำเข้าของปริมาณ
โซเดียม
สามารถลดจำนวนการใช้ยาลดความดันโลหิตและยังสามารถลดการขับโซเดียมออกจากร่างกายจากร่างกายจากฤทธิ์ของยาขับปัสสาวะได้
รับประทานอาหารที่มีโซเดียม น้อยกว่า 100 mmol ต่อวัน ส่งผลให้ความดันโลหิตลดลง 2-8 มิลลิเมตรปรอท
ยาความดัน
Carvedilol
Beta-Blockers
bid pc
ยับยั้งตัวรับบีต้า-อะดรีเนอร์จิก (beta-adrenergic receptor) ซึ่งทำให้เกิดการขยายตัวของหลอดเลือด โดยการยับยั้งการทำงานของตัวรับอัลฟ่า-1 (alpha-1 receptor) มีฤทธิ์ลดความดันโลหิตโดยลดแรงต้านของหลอดเลือดและทำให้หลอดเลือดขยายตัว
Losartan
Angiotensin II receptor
OD pc
ยับยั้งการจับของ Angiotensin ที่receptor ซึ่งจะทำให้ Angiotensin ไม่สามารถออกฤทธิ์ได้ มีข้อบ่งใช้สำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
Dyslipidemia
ระดับไขมัน ในเลือดที่ผิดปกติ
เกิดพยาธิสภาพ
บริเวณผนังชั้นในของหลอดเลือดแดง (Intima)
ระดับไขมัน สะสมเป็นระยะเวลานาน
เกิดแคลเซียมไปสะสมบริเวณหลอดเลือด
ผนังหลอดเลือดแข็งตัว
หลอดเลือดแดงแข็ง (Atherosclerosis)
ผนังหลอดเลือดขาดความยืดหยุ่น
หลอดเลือดเกิดการตีบแคบ
1 more item...
ยาที่ได้รับ
Atorvastatin
OD hs
Atorvastatin
ยับยั้งเอนไซม์ β-hydroxy β-methylglutaryl-CoA (HMG-CoA) ซึ่งมีหน้าที่ในการสังเคราะห์คอเลสเตอรอลที่ตับ เป็นผลให้ total cholesterol (TC), low density lipoprotein (LDL) cholesterol ลดลง
Asthma
มีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสารภูมิแพ้และ
สิ่งแวดล้อมมากกว่าคนปกติ
( Bronchial hyper-reactivity)
มีการหดตัวหรือตีบตันของ
ช่องทางเดินหายใจส่วนหลอดลม
การหดตัวของกล้ามเนื้อรอบๆหลอดลม
การบวมอักเสบของเยื่อบุภายในหลดลม
เสมหะจํานวนมากที่คั่งค้างอยู่ภายในหลอดลม
อากาศเข้าสู่ปอดน้อยลง
Azithromycin 250 mg
Ceftriaxone 2 g
Lymphocyte 47% Hi
Eosinophil10.4 % Hi
หายใจมีเสียงหวีดหรือหอบเหนื่อย เกิดขึ้นทันทีเมื่อได้รับสารก่อโรค (สารภูมิแพ้)
ละอองฝน
แนะนำหลีกเลี่ยงสิ่งที่แพ้
หายใจเสียงwheezing