Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยกระดับดัชนี สร้างพลเมืองดีในสังคม - Coggle Diagram
ยกระดับดัชนี สร้างพลเมืองดีในสังคม
การทุจริตเป็นหนึ่งในประเด็นที่ทั่วโลกแสดงความกังวล อันเนื่องมาจากเป็นปัญหาที่มีความซับซ้อน
การทุจริตควรเป็นประเด็นแรกๆ ที่ควรให้ความสำคัญในวาระของการพัฒนาประเทศของทุกประเทศ
คือ การสร้างวินัย คุณธรรม จริยธรรมเพื่อป้องกันเยาวชนมีจิตส านึกในการต่อต้านการทุจริต ปลูกจิตสำนึก ตระหนักถึงผลกระทบของการทุจริตคอร์รัปชั่น ให้เกิดความพัฒนางานให้เกิดความโปร่งใส
จริยธรรมป้องกันการทุจริต
จริยธรรมมี 2 ความหมาย
การรู้จักไตร่ตรองว่าอะไรควรทำ ไม่ควรทำ
ความประพฤติดีงาม เพื่อประโยชน์สุขของตนและสังคม
จริยธรรมจะเกิดขึ้นได้ด้วยการใช้มโนธรรมภายในจิตใจของบุคคลประเมินคุณค่าของสิ่งใด ๆ เพื่อหาเหตุผลแยกแยะสิ่งถูกผิด ความควร ไม่ควร แล้วตัดสินใจเลือกแสดงพฤติกรรมนั้น
ออกมาภายนอก
3.ความซื่อสัตย์ หมายถึง ประพฤติตรงไม่เอนเอียง ไม่มีเล่ห์เหลี่ยม
4.วินัย หมายถึง การยึดมั่นในระเบียบแบบแผนข้อบังคับและข้อปฏิบัต
1.ขยัน หมายถึง ความตั้งใจเพียรพยายามทำหน้าที่การงานอย่างต่อเนื่องสมำ่เสมอ
2.ประหยัด หมายถึง การรู้จักเก็บออม ถนอมใช้ทรัพย์สินสิ่งของตน
5.สะอาด หมายถึง ปราศจากความมัวหมองทั้งกายใจและสภาพแวดล้อมความผ่องใสเป็น
ที่เจริญตา
6.สามัคคี หมายถึง ความพร้อมเพรียงกัน ความกลมเกลียวกัน ความปรองดองกัน ความ
ร่วมใจกันปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามที่ต้องการ
7.สุภาพ หมายถึง เรียบร้อยอ่อนโยน ละมุนละม่อม มีกิริยามารยาทที่ดีงาม มีสัมมาคารวะ
8.นำ้ใจ หมายถึง ความจริงใจที่ไม่เห็นแต่เพียงตัวเองหรือเรื่องของตัวเอง แต่เห็นอกเห็น
ใจเห็นคุณค่าในเพื่อนมนุษย์
มาตรการของรัฐในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
ปัญหาการทุจริตในประเทศไทย เป็นปัญหาที่สั่งสมติดต่อกันมายาวนาน ส่งผลกระทบโดยตรงต่อระบบ
สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและความมั่นคงของประเทศจึงต้องสร้างระบบการป้องกัน
และปราบปรามการทุจริตให้มีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันการทุจริต
เช่น ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่3 (พ.ศ.2560 - 2564)
เพื่อสร้างสังคมที่ไม่ทนต่อการทุจริต มุ่งเน้นการกระบวนการปรับสภาพทางสังคมให้เกิดภาวะ “ไม่ทนต่อการทุจริต”
ความโปร่งใสในการปฏิบัติงาน
ความโปร่งใส (Transparency) หมายถึง การกระทำการใด ๆ ของภาครัฐทั้งในระดับบุคคลและองค์กรที่ผู้อื่นสามารถมองเห็นได้คาดเดาได้และเข้าใจได้
หลักความโปร่งใส (Accountability) หมายถึง ความโปร่งใส พอเทียบได้ว่ามีความหมาย ตรง
ข้ามหรือเกือบตรงข้ามกับการทุจริตคอร์รัปชั่น โดยที่เรื่องทุจริตคอร์รัปชั่น
โปร่งใส เห็นระบบงานทั้งหมดได้อย่างชัดเจน
มีเจ้าหน้าที่มาด้วยระบบคุณธรรมมีความสามารถสูงมาอยู่ใหม่มากขึ้น
ความโปรงใสในองคกร(Corporate Transparency)เน้นการขจัดอุปสรรคใหประชาชนในการเข้าถึงข้อมูลขาวสารขององคกร
กฎ ระเบียบ และกระบวนการทำงานโดยสะดวก
ข้อมูลข่าวสารด้านการป้องกันการทุจริต
การร้องเรียนผ่าน ป.ป.ช
มีชื่อหรือตำแหน่งของผู้ถูกกล่าวหา
มีข้อกล่าวหาการกระทำความผิด
มีชื่อและที่อยู่ของผู้กล่าวหา (ผู้ร้องเรียน)
การร้องเรียนการทุจริตของหน่วยงานต่างๆ
คู่มือแนวทางการสร้างมาตรฐานความโปร่งใสของ
ส่วนราชการ
หนังสือชุดความรู้การเฝ้าระวังการทุจริตของหน่วยงานภาครัฐ ชุดที่ 3