Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
SLE with Anemic symptom หญิงไทยวัยผู้ใหญ่ อายุ 45 ปี - Coggle Diagram
SLE with Anemic symptom หญิงไทยวัยผู้ใหญ่ อายุ 45 ปี
Anemic symptom
สาเหตุ
กรณีศึกษา
ผู้ป่วยมเป็นโรค SLE มา 20ปี prednisolon
ทฤษฎี
การเสียเลือด
การคลอดบุตร
อุบัติเหตุ
การแท้งบุตร หรือการตกเลือด
การผ่าตัด
การสร้างเม็ดเเดงลดลง
ภาวะโรคเรื้องรัง
การติดเชื้อ HIV
โรคไตวานเรื้อรัง ไตวายระยะที่ 3
โรคเรื้อรังบางโรคจะส่งผลกระทบต่อการสร้างเม็ดเลือดแดง โดยการทำลายไขกระดูกเช่น โรคมะเร็งบางชนิด มะเร็งเม็ดเลือขาว
โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์
การตั้งครรภ์
ฮอร์โมน
Erythropoietin ที่ผลิตจากไต มีหน้าที่ในการกระตุ้นไขกระดูกในการสร้างเม็ดเลือดแดง
โรคเกี่ยวกับไขกระดูก
ไขกระดูกฝ่อ
การติเชื้อในไขกระดูก
ได้รับยากดภูมิคุ้มกัน
การขาดสารอาหาร
วิตามันบี
กรดโฟลิก
ธาตุเหล็ก
การทำลายเม็ดเลือดเเดงมากว่าปกติ
โรคธาสัสซีเมีย (Thalassemia)
รูปร่างเม็ดเเดงผิดปกติ (Sickle Cell Anemia)
โรคเม็ดเลือดแดงแตกงายจากการขาดเอนไซม์ G-6PD
โรคเม็ดเลือดแดงแตกง่ายจาากระบบภูมิตนเองทำลายเม็ดเลือดเเดง
ความหมาย
เป็นภาวะที่เกิดจากร่างกายมีเม็ดเลือดแดงน้อยกว่าปกติ ทำให้การนำออกซิเจนไปยังเซลล์และเนื้อเยื้อในอวัยวะต่างๆได้ลดลง
พยาธิสภาพ
เมื่อมีการสูญเสียะธาตุเหล็กออกจากร่างกายมากกว่าปริมาณที่ควรได้รับ จะทำให้มีธาตุเหล็กไม่เพียงพอระบบทางเดินอาหารจะเพิ่มการดูดซึมธาตุเหล็กเพื่อทดแทนจำนวนธาตุเหล็กที่สลายออกจากเนื้อเยื้อเพื่อนำมาสังเคราะห์ฮีโมโกบิน
อาการและอาการเเสดง
กรณีศึกษา
ผู้ป่วยมีอาการ อ่อนเพลีย หน้ามือ เป็นลม ผิวเหลืองซีด เยื้อบุตาซีด การกำซายที่ปลายนิ้วมือ 3 วินาที
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 1 เนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน เนื่องจากตัวนำออกซิเจนลดลง
ข้อมูลสนับสนุน
O: 1.หายใจจเหนื่อยหอบ
2.ผิวเหลืองซีด เยื่อบุจาซีด Capillary refill 3 วินาที
1 more item...
จุดมุ่งหมาย: ผู้ป่วยไม่มีภาวะพร่องออกซิเจน
เกณฑ์
1.ผู้ป่วยไม่แสดงอาการและอาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจน ได้แก่ อาการเหนื่อยหอบ หายใจเร็ว อัตราการหายใจ 16-20 ครั้ง/ นาที
2.HB = 12-16 g/dl
3.HCT = 28 %
4.SpO2 มากกว่าเท่า 95 %
กิจกรรมการพยาบาลและเหตุผลการพยาบาล
1.จำกัดกิจกรรมบนเตียงและช่วยเหลือกิจวัตรประจำวันบางส่วนได้แก่ การปัสสาวะ อุจาระ อาบนำ้ แปรงฟัน เพื่อลดการใช้ออกซิเจนของร่างกาย
2.ดูแลให้ได้รับออกซิเจน 3 L/min ตามแผนการรักษาและป้องกันสายไม่มีมีนำ้ในสาย ดูระดับนำ้ของออกซิเจนและดูแลป้องกันแผลกดทับจาการใส่ออกซิเจน เพื่อให้ร่างกายได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
1 more item...
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 2 อาจเกิดภาวะความดันโลหิตตก เนื่องจาก เม็ดเลือดแดงลดลง
ข้อมูลสนับสนุน
1.ปลายมื้อปลายเท้าเย็น หิวเหลื่องซีด
3.HB = 404 g/dl
4.HCT = 14.4%
Capillary refill 3 วินาที
จุดมุ่งหมาย: ผู้เป็ยไม่เกิดภาวะความดันโลหิตก
เกฑณ์
1.ระดับความรู้ศึกตัวไม่เปลียนแปลงจากเดิม
2.ความดันโลหิต อยู่ระหว่าง 90/60-139/90
3.ไม่มีอาการเเสดงของภาวะความดันโลหิตตกได้แก่ หายใจเร็ว เหงือออก ตัวเย็น ปัสสาวะออกน้อยกว่า 0.5/kg/hr
กิจกรรมและเหตุผลการพยาบาล
1.ดูแลให้ได้รับออกซิเจน 3 L/min ตามแผนการรักษาและป้องกันสายไม่มีมีนำ้ในสาย ดูระดับนำ้ของออกซิเจนและดูแลป้องกันแผลกดทับจาการใส่ออกซิเจน เพื่อให้ร่างกายได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
1 more item...
ทฤษฎี
มึนงง เวียนศีรษะ ปวดหัว
มีอาการมือเท้าเย็น
2.มีอาการผิวซีด เยื้อบุตาซีด การกำซายของเลือดผิกปกติ
เจ็บหน้าอก ใจสั่น
1.รู้สึกเหนื่อยง่าย อ่อนเพลีย แม้เป็นการทำกิจวัตรประจำวัน
การรักษา
กรณีศึกษา
ผู้ป่วยได้รับยา Folic acid 5 mg Ferrous fumarate 200 mg ครั้งละ1เม็ด 3 ครั้งหลังอาหาร และได้รับเลือด LPRC 2 unit
ทฤษฎี
ไม่รุนเรง
ปรับเปลี่ยนพติกรรมการรับประธานอาหารและวิตามินเสริม
รักษาตามอาการให้ยาและป้องกีนไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน
รุนแรง
ให้เลือด
การเปลี่ยนถ่ายเลือด
การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิดจากเลือดและไขกระดูก
ภาวะแทรกซ้อน
ทฤษฏี
ภาวะหัวใจเต้นผิดจัวหวะ
พร่องออกซิเจน
ติดเชื้อง่าย
เลือดไปเลี้งหัวใจไม่เพียงพอ
กรณีศึกษา
ผู้ป่วยมีภาวะพร่องออกซิเจน
Systemic Lupus Erythematosus (SLE)
ภาวะแทรกซ้อน
กรณีศึกษา
ไม่พบภาวะแทรกซ้อน
ทฤษฎี
1.การติดเชื้อ มักพบการติดเชื้อที่ผิวหนัง ปอด ทางเดินหายใจและทางเดินปัสสาวะ
2.กระดูกตายจากการขาดเลือด พบบ่อยในผู้ป่วย SLE ที่ได้รับยาสเตียรอย์ดเป็นเวลานานมากกว่า 3-4 ปีหรือใช้ขนาดสูง
3.ภาวะความดันโลหิตสูง มักเกิดจากไตอักเสบ หรือจากการได้รับยาสเตียรอยด์ขนาดสูงเป้นเวลานานๆ
4.ภาวะ Antiphospholipid symptom ทำให้เกิดเส้นเลือดอุดตันทั้งเส้นเลือดแดงและเส้นเลือดดำในอวัยวะต่างๆ
5.ภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ที่เกิดจากยาที่ใช้รักษา
โดนเฉพาะสเตียรอยด์ได้แก่อาการ นอนไม่หลับ กระวนกระวาย มือสั่น โปเตียสเซียมตำ่ ต้อกระจก ต้อหิน หรือกระดูกพรุน
ความหมาย
เป็นโรคที่มีความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน โดยร่างกายให้ภูมิคุ้มกันต่อต้านหรือทำลายเนื้อเยื้อและเซลล์ต่างๆของร่างกายตนเองในระบบอวัยวะต่างๆ แทนที่จะต่อต้านหรือทำลานสิ่งแปลหปลอมจากภายนนอกร่างกายทให้เกิดมีภูมิคุ้มกันที่เป็นพิษต่ออวัยวะของร่างกาย
พยาธิสภาพ
ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน ทำให้มีการสร้าง Antibody ต่อเซลล์ในร่างกายของผู้ป่วยเอง (Autoantibodies) เกิดกระบวนหารอักเสบของอวัยวะที่ได้รับผลกระทบทำให้เกิดอาการปวด บวมเเดง ร้อน Autoantibodies บางส่วนจะถูกรวมกันก่อให้เกิด Abnormal immune complexes สะสมตวามอวัยวะต่างๆได้แก่ ไต ข้อและกระดูก ผิวหนัง ระบบประสาท ปอด หัวใจและหลอดเลือด ระบบไหลเวียน
อาการและอาการเเสดง
ทฤษฏี
1.อาการทั่วไป มีอ่อนเพลียเบื่ออหาร นำ้หนักตัวลด มีไข้เป็นๆ หาย
2.อาการทางผิวหนัง มีผื่นเฉพาะโรค เป็นรูปผีเสื้อ
(Malar rash) ผมร่วง ผื่นตามตัว ตามทั่วไปจากการแพ้แสงเเดด ปลายมือปลายเท้าซีด
3.อาการทางระบบข้อ กล้ามเนื้อ และกระดูก มักเริ่มด้วยอาการปวดอย่างเดียวก่อน ต่อมามีอาการบวม แดงและร้อน เป็นได้กับข้อต่างๆ ทั่วทั้งตัว กล้สมเนื้อและกระดูกพบมีอาการปวด กล้ามเนื้ออักเสบ และกระดูกเสื่อม
4.อาการทางไต อาการทางไตที่พบได้บ่อยได้แก่ มีบวม ปัสสาวะเป็นเลือด ปัสสาวะออกน้อยและอาการที่เกิดจากไตวาย
5.อาการทางระบบประสาท มีอาการทางระบบประสาท ได้แก่ ซึม หมดสติ นอกจากนี้อาจมีเลือดออกในสมอง สับสน พูดไม่รู้งเรื่อง
6.อาการทางระบบโลหิต จาการการที่มีภูมิคุ้มกันลำลายเม็ดเลือดชนิดต่างๆ ทำให้เกิดอาการซีด ติดเชื้อง่าย เลือดออกง่าย
7.อาการทางหัวใจและระบบไหลเวียนเลือด มีอาการหายใยหออบเหนื่อย นอนราบไม่ได้ ชีพจรเต้นผิดปกติ อาจมีอาการเจ็บหน้าอกซึ่งเกิดจากมี่พยาธิสภาพที่หลอดเลือดเลี้ยงหัวใจ อาจพบความความดันโลหิต
8.อาการทางระบบหายเดินหายใจ อาจพบอาการเหนื่อยหอบ เจ็บหน้าออก ไอ
9.อาการทางระบบทางเดินอาหาร มีอาการปวดท้องซึงอาจเกิดจากมีการอักเสบของลำใส้หรือตับอ่อน
กรณีศึกษา
อาการทั่วไป ผู้ป่วยมีอาการอ่อนเพลีย ทานอาหารได้น้อย
อาการทางผิวหนัง ผู้ป่วยมีฝ้าบริเวณแก้มทั้ง 2 ข้าง ผมร่วงทั่วศีรษะ เปลือกตาบนบวม
อาการทางระบบข้อ มีอาการปวดข้อเข่า มีบวมแดง
อาการทางระบบโลหิต ผู้ป่วยมีอการผิวเหลืองซีด เยื้อบุตาซีด
สาเหตุ
ทฤษฏี
พันธุกรรม การถ่ายทอดทางพันธุกรรมอาจส่งต่อทางลักษณะบางอย่างที่ทำให้เกิด
2.เพศ โรคนี้มักเเกิดกับผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย 9-10 เท่าและส่วนใหญ่มากเกิดกัยผู้หญิงใยวัย 20-45 ปี
3.การติดเชื้อ มีการศึกษาการติดเชื้อไวรัส เช่น Epstin Barr virus นอกจากนี้ยังมรการติดเชื้อไวรัสอื่นๆเช่น cytomegalovirus หรือ herpes zoster
4.การใช้ยา ยาบางประเภท เช่น ยาต้านอาการชัก ยาปฏิชีวนะ และยากลุ่มควบคุมความดันโลหิต ซึงพบว่าหลังใช้ยาไปได้ระยะหนึ่งแล้ว ยาบางชนิดก่อให้เกิดการสร้างภูมิคุ้มกันต่อต้่นตนเอง
5.การได้สาร เช่น สารเคมีบางชนิด ได้แก่ นำ้ยาย้อมผม การสูบบุหรี่และยาสูบต่าง
6.แสงเเดด สำหรับคนที่มีผิวไวต่อแสงแดง การสัมผัสแสงแดดอาจทำให้เกิดรอยโรค เป้นเหตุให้เกิดอาการต่างๆ
7.เชื้อชาติ พบมากในผู้ป่วยเชื้อชาติเอเชีย
กรณีศึกษา
ผู้ป่วยไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด พบว่าผู้ป่วยเป็นผู้หญิงและได้รับการวินิฉัยเป็นโรค SLE เมื่ออายุ 25 ปี ขาดยา 1 ปี
ข้อวินิจฉัยการพยาบาลข้อที่ 3 อาจเกิดภาวะเลือดออกง่ายหยุดยาก เนื่องจากภูมิคุ้มกันทำลายเม็ดเลือดจากโรคภูมิคุ้มกันบอกพร่อง
เกฑณ์
2.ผู้ป่วยไม่มีจดชำ้จาการเกิดอุบัติเหตุ
3.ผู้ป่วยไม่มีอาการอาเจียนเป็นเลือดหรือถ่ายปนเลือด
1.ผู้ป่วยไม่มีเลือดออกตามไร้ฟัน
ข้อมูลสนับสนุน
1.ผู้ป่วยเป็นโรคภูมิคุ้มกันบกหพร่อง
2.ผู้ป่วยได้รับยาสเตียรอยด์
จุดมุ่งหมาย: ผู้ป่วยไม่มีภาวะเลือดออก
กิจรรมและเหตุผลการพยาบาล
1.ดูแลริมฝีปากและช่องปากให้ชุ่มชื้้น เพื่อป้องกันการแตกแห้งซึ่งเป็นสาเหตุของภาวะเลือดออก
2.จำกัดกิจกรรมและจักสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย หลีกเลี่ยงสาเหตุที่อาจทำให้เกิดเลือดออก ได้แก่การกระอทก หารเเคะ เกะเกาต่างๆ เพื่อป้องกันเลือดออก
4.แนะให้เลี่ยงการทานอาหารเหนียว แข็ง หรืออาหารรสจัด เพื่อป้องกันภาวะเลือดออกในทางเดินอาการส่วนต้น
1 more item...
3.ดูเเลให้ได้รับเลือดLPRCตามเเผนการรักษาเพราะการให้เลือดจะเป็นการได้รับเกร็ด
4.มีการดุแลสุขภาพตนไม่ดี เนื่องจากไม่ตระหนักความสำคัญในการดูแลสุขภาพที่ภุกต้อง
ข้อมูลสนับสนุน
1.ผู้ป่วยบอกว่า " ขาดยามา 1 ปีเพราะว่าเบื่อที่จะกินยา"
2.รับประทานอาหารไม่เป็นเวลา
3.พักผ่อนไม่เพียงพอ
จุดมู่งหมาย: เสริมสร้างความตระหนักในเรื่องการปฏิบัติตนที่เหมาะสมกับโรค
เกฑณ์
1.ผู้ป่วยสามารถบอกความสำคัญของการรักษาอย่างต่อเนื่องได้ถูกต้อง 60%
2.ผู้ป่วยสามารถบอกวิธีการดูแลตนเองได้ถูกต้อง 60 %
กิจกรรมและเหตุการพยาบาล
1.บอกความสำคัญในการดูแลตนเองและการรับประทานอยาอย่างต่อเนื่อง เพื่อป้องกันการกลับเป็นซำ้
2.แนะนำใหผู้ป่วยหลีกเลี่ยงการไปในที่แออัดหรือพื้นที่ที่มีคนเป็นจำนวนมาก เพื่อป้องกันการติดเชื้อ
3.หลีกเลี่ยงการถูกแสงเเดดได้แก่
3.1 ทาครีมกันแดดก่อนออกจากบ้านทุกครั้ง
3.2สวมเสื้อแขนยาวและกางเกงขายาว
1 more item...
4.แนะนำให้ผู้ป่วยพักผ่อนอย่างน้อย 5-6 ชั่วโมง เพื่อเพิ่มภูมิคุ้มกันให้แก่ร่างกาย
5.แนะนำให้ทานอาหารที่มีธาตุเหล็ก ได้แก่ ผักใบเขียว เครื่องในสัตว์ เพื่อเพิ่มการสร้างเม้ดเลือดแดง
6.แนะนำให้ทานผลไม้ที่มีวิตามินซีสูง ได้แก่ ส้ม สับปะรด ฝรั่ง องุ่น เพื่อเพิ่มการดูดซึมโฟลิก
การรักษา
กรณีศึกษา
ผู้ป่วยได้รับการรักษา ด้วยยา Steroid ได้รับยา Hydrocortisone 100 mg V ทุก 8 ชั่วโมง
ทฤษฎี
1.Nonsterodal anti-inflammatory drugs ยาลดการอักเสบ เช่น Iprobrufen, Naproxan, Acroxia
2.ยารักษามาลาเรีย (Chloroquine, Hyhrochloroquine) ใช้รักษอาการเพลีย ปวดข้อ ผื่น และปอดอักเสบขากSLE
3.Steroid
4.Immunosuppressive เช่น methotrexate, cyclophosphamide