Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจวินิจฉัยทางการนวดไทย - Coggle Diagram
การตรวจวินิจฉัยทางการนวดไทย
การซักถามประวัติ
อายุคน คือ ข้อมูลประวัติของทั้งหมดของผู้ป่วย
อายุโรค คือ ข้อมูลระยะเวลาของโรค
การตรวจร่างกาย
หาตำแหน่ง เพื่อให้ทราบตำแหน่ง ลักษณะ และแยกอาการโรค
ทดสอบกำลัง ทราบกำลังของผู้ป่วยจากระบบกล้ามเนื้อหรือระบบประสาท
รู้กำลังเลือดลม ตรวจชีพจรเบื้องสูงและเบื้องต่ำ
การวินิจฉัยโรค
ธาตุทั้ง 4 พิการ
เบญจอิรทรีย์
หมอสมมติ
การนวดพื้นฐาน 6 เส้น
(เส้นที่1-4)
1.นวดพื้นฐานขา
ท่านวด
ผู้นวดนั่งพับเพียบ
ผู้ป่วยนอนหงาย
ขั้นตอนการนวด
จุดนาคบาท
จุด 1 ใช้นิ้วหัวแม่มือคว่ำมือ เฉียง 45 องศากดชิด
จุดที่ 2 ถัดจากจุดที่ 1 มา 1 นิ้วมือ โดยใช้คาบน้อย
เเนวเส้นที่ 1 ใช้หัวเเม่มือหงายมือ กดชิดกระดูกสันหน้าแข็งกดเรียงกันจนถึงข้อเท้า
แนวเส้นที่ 2 ใช้หัวแม่มือหงายมือกดบริเวณเหนือเข่า 2 นิ้วมือกดเรียงจนถึงหัวตะคาด
แนวเส้นที่ 4 ใช้หัวแม่มือคู่คว่ำมือ กดบริเวณขาท่อนล่างด้านข้างกดเรียงจนถึงชิดตาตุ่มด้านนอก
แนวเส้นที่ 3 ใช้นิ้วหัวแม่มือคู่คว่ำมือ กดบริเวณกล้ามเนื้อสะโพกเรียงต่อกันไปจนถึงบริเวณเหนือหัวเข่าด้านข้าง 2 นิ้วมือ
นวดเส้นหลังเท้า ใช้หัวแม่มือเดี่ยวคว่ำมือกดรีดหลังเท้าจากล่างขึ้นบน
เปิดประตูลม ใช้มือโดยเอานิ้วก้อยแตะบริเวณหัวตะคาก เฉียง 45 องศา ลงน้ำหนักที่อุ้งมือกดค้าง 45 วินาทีแล้วปล่อย
ประโยชน์
ลดความตึงตัว
ยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น และข้อต่อ
เตรียมพร้อมก่อนกดสัญญาณเพื่อรักษาโรคเกี่ยวกับหลัง ขา เข่า เท้า และหลัง
ข้อควรระวัง
หากผู้นวดเปิดประตูลมทำมุมมากกว่า 45 องศา อาจทำให้เกิดอาการขัดยอกได้
3.นวดพื้นฐานขาด้านใน
จุดที่ 1 ใช้นิ้วหัวแม่มือคู่หงานมือกดกึ่งกลางของท่อนขาบนต่ำกว่าก้นย้อย 2 นิ้วมือ
จุดที่ 2 ใช่นิ้วหัวแม่มือคว่ำแล้วกดใต้ข้อพับเข่า 45 วินาที
จุดที่ 3 คว่ำนิ้วหัวแม่มือ นิ้วโป้งชี้ไปทางศีรษะผู้ป่วยกดลงกล้ามเนื้อน่องใต้กระดูกหน้าแข้งด้านใน 2 นิ้วมือ กดชิดจนถึงตาตุ่มด้านใน
ประโยชน์
ลดความตึงตัวกล้ามเนื้อ
เพิ่มประสิทธิภาพการยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ
เป็นการเตรียมพร้อมก่อนกดสัญญาณ
ข้อควรระวัง
ระวังเข่าหรือขาผิดรูป
2.นวดพื้นฐานขาด้านนอก
ท่านวด
ผู้นวดนั่งคุกเข่าคู่
ผู้ป่วยนอนตะเเคงเข่าคู้ 90 องศา
จุดที่ 1 วางนิ้วหัวแม่มือคู่ คว่ำมือ ที่จุดสูงสุดของสะโพก จุดตัดระหว่างเส้นข้างลำตัวกับเส้นหัวคาก
จุดที่ 2 วางนิ้วหัวเเม่มือ หงายมือ ที่ใต้ข้อพับกระดูกสะโพก 1 นิ้ว
จุดที่ 3 วางนิ้วหัวเเม่มือ กดที่บ่อเลือด
คลายกล้ามเนื้อต้นขา ใช้นิ้วหัวเเม่มือเดี่ยวคว่ำมือกดรีดกล้ามเนื้อต้นขาจากล่างขึ้นบน
เดินเส้นขาท่อนล่าง ใช้หัวแม่มือคู่กดที่กึ่งกลางขาท่อนล่างจนถึงตาตุ่ม
ประโยชน์
ลดความตึงกล้ามเนื้อ
เป็นการเตรียมพร้อมก่อนกดสัญญาณ
เพิ่มประสิทธิภาพการยืดหยุ่น
ข้อควรระวัง
ผู้ป่วยโรคสะโพกติด ใส่สะโพกเทียม อัมพกษ์ อัมพาต เหยียดคู้ขาไม่ได้ ไม่ต้องกดจุดที่ 2 ขาด้านนอก
4.การนวดพื้นฐานหลัง
ท่านวด (ท่านอน)
ผู้นวดนั่งคุกเข่าคู่
ผู้ปาวย นอนตะแคงเข้าคู้ 90 องศา
ขั้นตอนที่ 1 นวดเที่ยวขึ้น ใช้นิ้วหัวแม่มือคว่ำกดข้างสันกระดูกสันหลังโดยปลายนิ้วก้อยแตะหัวตะคาก จนถึงต้นคอ ใช้น้ำหนัก 50 ปอนด์
ช่วง 1 หลังส่วนล่าง
ช่วง 2 หลังส่วนกลาง
ช่วง 3 หลังส่วนบน
ขั้นตอนที่ 2 นวดเที่ยวลง กดย้อนกลับทิศทางเดิมจากต้นคอถึงเอว ลงน้ำหนัก 70 ปอนด์
ขั้นตอนการนวด
ใช้นิ้วหัวแม่มือในท่าผีเสื้อมือคู่ กดข้างกระดูกสันหลังใช้ปลายนิ้วก้อยแตะหัวตะคาก น้ำหนัก 50 ปอนด์ นวดเที่ยวขึ้น
ช่วง 1 หลังส่วนล่าง
ช่วง 2 หลังส่วนกลาง
ช่วง 3 หลังส่วนบน
ท่านวด
ผู้นวดนั่งท่าหนุมานถวายแหวน
ผู้ป่วยนั่งขัดสมาธิหรือนั่งห้อยขา
ประโยชน์
ลดความตึงตัวกล้ามเนื้อ
เพิ่มประสิทธิภาพการยืดหยุ่น
ข้อควรระวัง
ระมัดระวังในผู้ป่วยที่มีภาวะกระดูกพรุน
ระมัดระวังนิ้วที่ประคองการนวด