Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้ที่ได้เรียน, ความรู้ก่อนเรียน, สิ่งที่อยากบอก, -มีประสบการณ์เรียนใน…
ความรู้ที่ได้เรียน
-
-
ความหมายของหลักสูตร:
(Beauchamp, 1975)
แนวทางที่ 2 หมายถึงระบบหลักสูตร ซึ่งประกอบด้วย การจัดการบุคคล และ การจัดการกระบวนการ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกรอบการทำงานของโรงเรียน
-
แนวทางที่ 1 หมายถึงเป็นปรากฏการณ์ที่สำคัญ เป็นแผนการทำงานให้ผู้เรียนได้เรียน เป็นกลุ่มของผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน หรืออาจเป็แผนงานต่างๆของการจัดการเรียน
(สงัด อุทรานันท์ 2532)
2.ขอบเขตข้อกำหนดเกี่ยวกับการเรียนการสอนที่เขียนขึ้นอย่างเป็นทางการ ประกอบไปด้วยจุดมุ่งหมายของการเรียนการสอน เนื้อหาสาระ กิจกรรม ข้อกำหนดการวัดและประเมินผล ระยะเวลา โดยเอกสารนี้แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ
-
-
3.ขอบเขตระบบการทำงานที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร เป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร ทั้งการจัดบุคลาการ กระบวนการพัฒนาหลักสูตร การใช้งาน การประเมินหลักสูตร และผลผลิต
-
คำนิยาม :
-เป็นรายวิชา หรือเนื้อหาสาระที่ใช้สอน กิจกรรมการเรียนการสอน
-เป็นมวลประสบการณ์ที่โรงเรียนจะจัดให้แก่เด็ก
-สิ่งที่สังคมคาดหมายหรือมุ่งหวัง
-วิถีที่จำพาเด็กไปสู่จุดหมายปลายทาง
-ข้อผูกพันระหว่างนักเรียนกับครูและสิ่งแวดล้อมทางการเรียน
(ธำรง บัวศรี 2542) นิยาม ว่า แผนซึ่งออกแบบจัดทำขึ้นเพื่อ แสดงถึงเป้าหมาย เนื้อหา กิจกรรมมวลประสบการณ์ในแต่ละประสบการณ์ศึกษา ให้ผู้เรียนได้มีพัฒนาการด้านต่างๆตามจุดหมายที่ได้กำหนดไว้
(Marsh 2009)
นิยาม 3 หลักสูตรคือการวางแผนการเรียนรู้ทั้งหมดที่โรงเรียนรับผิดชอบ เป็นเอกสารที่เขียนอย่างเป็นทางการ กำหนดจุดมุ่งหมายของผู้เรียน ให้ได้บรรลุผลการเรียนรู้ที่ตั้งไว้ โดยยากที่จะตอบได้ว่าหากใช้หลักสูตรตามนิยามนี้แล้ว โรงเรียนใช้ทฤษฎีใดเป็นฐาน มีความยืดหยุ่นได้เพียงใด หากไม่สอนตามแผนแล้วจะสำเร็จหรือไม่
นิยาม 4 หลักสูตรคือ ประสบการณ์การเรียนรู้ทั้งหมดที่มีให้กับนักเรียน เพื่อให้สามารถบรรลุทักษะ และความรู้ทั่วไป ในสถานที่เรียนรู้ที่หลากหลาย ตามนิยามนี้จะเน้นการเรียนรู้มากกว่าการสอน หลักสูตรตามนิยามนี้พบได้ทั่วไปตามสถานศึกษาต่างๆ
นิยาม 2 หลักสูตร คือวิชาที่เป็นประโยชน์ต่อการอยู่อาศัยในสังคมร่วมสมัยมากที่สุด เป็นนิยามที่ต้องการโรงเรียนและผูเรียนปรับตัวเองสู่สังคมมากว่าปรับปรุงสังคม ไม่สามารถระบุความเที่ยงของหลักสูตร และความรู้ที่ต้องใช้ได้
นิยาม 5 สิ่งที่นักเรียนสร้างขึ้นจากการทำงานกับคอมพิวเตอร์ และเครือข่ายต่างๆ เช่น อินเทอร์เน็ต เป็นนิยามตามหลักสูตรยุคใหม่ เนื่องจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยี และความสะดวกของการรับรู้ข้อมูล สารสนเทศ ถือว่าผู้เรียนสามารถสร้างความหมายการเรียนรู้ ด้วยการเข้าถึงทรัพยากรออนไลน์ได้ด้วยตัวเอง ทักษะทางสังคมถูกพัฒนาผ่านทางออนไลน์
นิยาม 1 หลักสูตรเป็น วิชาถาวรไม่เปลี่ยนแปลง ซึ่งนิยามนี้ขัดต่อการใช้หลักสูตรในปัจจุบันที่จะต้องพัฒนา มีการปรับเปลี่ยนตามยุคสมัย และความต้องการของสังคมอยู่เสมอ
นิยาม 6 หลักสูตรเป็นการตั้งคำถามเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่และการค้นหามุมมองที่ซับซ้อนเกี่ยวกับสถานการณ์ของมนุษย์ โดยนิยามนี้ถูกตั้งตามแนวคิดของ Socratic ที่ว่า (the unexamined life is not worth living) เกิดข้อสงสัยในแนวคิดนี้ มีการถกเถียง ท้าทายมุมมองใหม่ๆ
-
-
-
-
-
-
-มีประสบการณ์เรียนในโรงเรียนมัธยมที่มีหลายหลักสูตร ทั้ง ห้องเรียนภาษาจีน ห้องเรียนภาษาฝรั่งเศส ห้องเรียนฟุตบอล ห้องเรียนภาษาเยอรมัน ห้องเรียนภาษาญี่ปุ่น
เป็นบทที่เนื้อหาแน่นมากครับผม เห็นนิยามเยอะแบบนี้ พออาจารย์ถามว่าหลักสูตรคืออะไร ก็เลือกตอบไม่ถูกเลยครับผม อยากบอกอาจารย์เรื่องของการแบ่งงานกลุ่มครับ เพราะหากว่าเหลือเวลาน้อย ก็อยากให้แบ่งตามสาขาครับเพราะจะติดต่อทำงานต่อได้ง่าย หรือหากงานต้องเสร็จในชั่วโมงก็จะสามารถเสร็จได้ทันครับหากทำร่วมกับเพื่อนในสาขา
-