Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักการและเทคนิค การเก็บสิ่งส่งตรวจและการเตรียมตรวจ - Coggle Diagram
หลักการและเทคนิค
การเก็บสิ่งส่งตรวจและการเตรียมตรวจ
การตรวจเลือด
การเจาะเลือดเส้นเลือดดำ
Venipuncture
ชนิดของหลอดเลือด
จุกสีฟ้า
Citrate Blood : มีสาร Citrate ตรวจเกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือด
จุกสีแดง
Clotted Blood : ไม่มีสารกันเลือดแข็ง ส่งตรวจ งานภูมิคุ้มกัน,เคมีคลีนิก และธนาคารเลือด
จุกสีเขียว
Heparin : มีสาร Heparinized Blood ส่งตรวจงานเคมีคลินีกกรณีเร่งด่วน หาสารตะกั่ว
จุกสีม่วง
EDTA : มีสาร EDTA ส่งตรวจโลหิตวิทยา
จุกสีเทา
NaF Blood : มีสาร Fluoride ส่งตรวจหา glucose & alcohol
จุกสีดำ
Cirtrate Blood : มีสาร Citrate ส่งตรวจหา ESR
:red_cross: ห้ามเขย่า หลอดเลือด เพราะเม็ดเลือดจะแยก ให้ทำ มิกส์ แทน คือ กลับหัวกลับหางแทน
การเจาะปลายนิ้ว
Finger Punchre
ตรวจหาค่าระดับน้ำตาล DTX
ตรวจหาความเข้มข้นของเลือด
การตรวจปัสสาวะ
Urine
Single Specimen
ได้แก่ Random urine
First morning urine
Fractional urine
Catheterized Specimen
การตรวจหาหน้าที่เฉพาะ เช่น
การตรวจการทำงานของไต
Timed Specimen
การเก็บตามกำหนดเวลา
กรณีผู้ป่วยถ่ายปัสสาวะได้เอง ควรแนะนำเก็บ Mid Steam (น้ำส่วนกลาง) ของปัสสาวะ
ผู้ป่วยคาสายสวนปัสสาวะ เช็ดสำลีแอลกอฮอล์ก่อน
และหลังการเก็บ และการปักเข็มดูดด้านน้ำปัสสาวะ
และไม่ควรใช้เข็มที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางกว้างมาก
การตรวจอุจจาระ
Stool examination
Stool occult blood
Stool culture
ไม่เก็บอุจจาระจากโถส้วม เพราะอุจจาระ
จะปนกับน้ำและส่งผลให้ผลตรวจผิดพลาดได้
ไม่ควรเลือกเก็บอุจจาระ
เฉพาะจุดใดจุดหนึ่งควรกระจายเก็บให้ทั่วก้อน
ไม่ควรเลือกเก็บอุจจาระในบริเวณที่แข็ง
ควรเลือกบริเวณที่มีความอ่อนนุ่ม
ถ้าอุจจาระเป็นน้ำหรือเป็นมูกเลือด
ให้เก็บส่วนที่ผิดปกตินั้นมาด้วย
ในขณะป้ายเก็บอุจจาระควรระวัง
ไม่ให้มือไปสัมผัสกับอุจจาระ
อย่าให้อุจจาระปนเปื้อนกับน้ำ สบู่ หรือ ปัสสาวะ
ห้ามเก็บตัวอย่างอุจจาระด้วยทิชชู่
น้ำไขสันหลัง
ขวดที่ 1 สำหรับส่งตรวจหาโปรตีน น้ำตาลทางเคมีคลินิก
และตรวจทางภูมิคุ้มกันวิทยาคลินิก
ขวดที่ 2 สำหรับส่งตรวจเพาะเชื้อทางด้านจุลชีววิทยาคลินิก Clinical microbiology lab
ขวดที่ 3 สำหรับส่งตรวจหา Cell count, cell differential
การพยาบาลหลังการเจาะไขสันหลัง
นอนราบไม่หนุนหมอน 6-12 ชั่วโมง
ประเมินการเปลี่ยนแปลงของระบบประสามส่วนกลาง
ตรวจสอบอาการทางประสาทส่วนปลาย
ตรวจดูบริเวณที่เจาะ
กระตุ้นให้ผู้ป่วยดื่มน้ำมากๆ
ประมาณ 3,000 มล. ในช่วง 24-48ชั่วโมง
สังเกตอาการแทรกซ้อนเกิดขึ้นได้ เช่น งุนงง อาเจียน ชีพจรช้า ปวดศีรษะ
การตรวจทางจุลชีววิทยา
การย้อมสี
Staining
การเก็บสิ่งส่งตรวจที่ผิวหนัง
การเก็บเยื่อบุช่องปาก
การเพาะเชื้อ
Culture
เลือด Blood
เลือกบริเวณที่เจาะเลือด ใช้สำลีชุบน้ำยา
ฆ่าเชื้อโรคทาบริเวณนั้นรอทิ้งไว้ 1.5-2 นาที
เปลี่ยนหัวเข็มและทำความสะอาด
ปากขวดก่อนแทงเข็มลงขวดเพาะเชื้อทุกครั้ง
ส่งตัวอย่างถึงห้องปฏิบัติการให้เร็วที่สุด
ห้ามแช่เย็นเก็บไว้ที่อุณหภูมิห้อง
อุจจาระ Stool
เก็บโดยใช้ไม้พันสำลีที่ปราศจากเชื้อป้ายอุจจาระที่ถ่ายใหม่ๆ
เลือกบริเวณที่มีมูกเลือดใส่ขวดที่มีวุ้นให้ลึกถึงก้นขวด
โดยหักไม้ส่วนเกินปากขวดทิ้งแล้วปิดฝาขวด
นำส่งห้องปฎิบัติการพร้อมใบนำส่ง
ปัสสาวะ Urine
การเปิดฝาภาชนะ ต้องไม่สัมผัสกับฝาด้านใน
และกับผิวด้านในของภาชนะ
เสมหะ Sputum
ทำความสะอาดช่องปากโดยการบ้วนปากด้วยน้ำสะอาดก่อน
หายใจเข้าา-ออก ลึกๆ 3-4 ครั้ง
ไอแรงๆ 3-4 ครั้ง จนได้เสหะในลำคอ
ขากเสมหะที่ได้ใส่ตลับเสมหะให้ได้ปริมาณ 3-5ซีซี
ปิดฝาตลับและล้างมือด้วยสบู่ให้สะอาด
หนอง Pus
แผลปิดใช้สำลีชุปแอลกอฮอล์เช็ดทำความสะอาด
บริเวณผิวหนังภายนอก ใช้เข็มสะกิดให้แผลเปิด
แล้วใช้ไม้พันสำลีป้ายหนองบริเวณแผลใส่ลงในวุ้นให้ลึกถึงก้น
แผลเปิด ให้เก็บโดยใช้พันสำลีป้ายหนองบริเวณแผลแล้วใส่ลงในวุ้นให้ลึกถึงกันขวด
การช่วยจัดท่า
ในการเตรียมตรวจ
ท่านอนตะแคงซ้าย
Sims Position
ท่านอนตะแคงซ้าย
Sims Position
ท่านอนหงายพาดเท้าบนขาหยั่ง
Lithotomy Position
ท่านอนคว่ำ คุกเข่า
Knee Chest Position
ท่านอนหงานชันเข่า
Dorsal Recumbent Position
ท่าเอน Recumbent Position
เป็นท่าเตรียมตรวจหรือทำหัตถการ เช่น
เก็บน้ำไขสันหลัง เจาะปอด
ท่านอนคว่ำ
Prone Position