Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ ๔ เทคนิคการให้คําปรึกษาและการประสานกับผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้อ…
หน่วยที่ ๔ เทคนิคการให้คําปรึกษาและการประสานกับผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้อง
เทคนิควิธีการให้คําปรึกษาแก่ผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้อง
๓. ทวนคําพูด
๑.ศึกษาประวัติครอบครัว
๒. รับฟังเรื่องราวอย่างตั้งใจ
๔. สรุปความ
๕. ยกตัวอย่างประสบการณ์ของตนเองหรือผู้อื่นเพื่อให้ผู้รับคําปรึกษารู้สึกว่าปัญหาที่ตนพบนั้นเป็นปัญหาที่
เกิดขึ้นได้และผู้อื่นก็เคยประสบมาเช่นกัน
๖. สนับสนุน
การประสานงานกับผู้ปกครองและผู้ที่เกี่ยวข้อง
การประสานงาน คือ การที่บุคคลหรือหน่วยงานในองค์กร ทํางานร่วมกับบุคคลและหน่วยงานอื่นเพื่อให้ บรรลุจุดมุ่งหมายร่วมกัน มีลักษณะเป็นกระบวนการที่ต้องกระทําต่อเนื่องสอดคล้องกันไปเพื่อให้งานสําเร็จอย่างมี
ประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์ของการประสานงาน
๑. เพื่อแจ้งให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทราบ
๒. เพื่อรักษาไว้ซึ่งความสัมพันธ์อันดี
๓. เพื่อขอคํายินยอมหรือความเห็นชอบ
๔. เพื่อขอความช่วยเหลือ
๕. เพื่อขจัดข้อขัดแย้งที่อาจมีขึ้น
๖. เพื่อให้งานสําเร็จตามเป้าหมาย
๗. เพื่อให้งานมีคุณภาพตามมาตรฐานที่กําหนดไว้
ประโยชน์ของการประสานงาน
๑. ช่วยให้การทํางานบรรลุเป้าหมายได้อย่างราบรื่นรวดเร็ว
๒. ช่วยประหยัดเวลาและทรัพยากรในการปฏิบัติงาน
๓. ช่วยให้ทุกผ่ายเข้าใจถึงนโยบายและวัตถุประสงค์ขององค์การ
๔. ช่วยสร้างความสามัคคีและความเข้าใจในหมู่คณะ
๕. เสริมสร้างขวัญของผู้ปฏิบัติงาน
๖. ลดอันตรายจากการทํางานให้น้อยลง
๗. ช่วยลดข้อขัดแย้งในการทํางาน
๘. ช่วยให้ปฏิบัติงานเป็นหมู่คณะและเพิ่มผลสําเร็จของงาน
๙. ช่วยเกิดความคิดใหม่ๆและปรับปรุงอยู่เสมอ
๑๐. ป้องกันการทํางานซ้ําซ้อน
๑๑. การดําเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ประเภทของการประสานงาน
๑. การประสานงานอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ
๒. การประสานงานภายในองค์การและภายนอกองค์การ
๓. การประสานงานในแนวดิ่ง (Top- Down Bottom-up) และแนว
เทคนิคการประสานงาน
๑. กําหนดเป้าหมายในการประสานงานให้ชัดเจน
๒. เตรียมข้อมูลที่จะใช้ในการประสานงานให้ครบถ้วนครอบคลุม
๓. ศึกษาข้อมูลของบุคคลหรือหน่วยงานจะประสานงานด้วย
๔. วางแผนการประสานงานที่สอดคล้องกับเป้าหมายและระยะเวลา
๕. เตรียมตนเองให้พร้อมและเหมาะสมตามกาลเทศะ
๖. เคารพและให้เกียรติผู้ที่ประสานงานด้วยรวมทั้งเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น
๗. ประเมินผลการสื่อสารและประสานงานทุกครั้ง
๘. ปรับปรุงและพัฒนาแนวทางการประสานงานจากผลการประเมินทุกครั้ง
830 นางสาวฮาบีบ๊ะ หลีเจริญ