Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิดทางการบำรุงรักษา - Coggle Diagram
แนวคิดทางการบำรุงรักษา
ความสำคัญของการซ่อมบำรุงรักษา
เครื่องจักรยุตเก่า
เครื่องจักรแยกส่วน เเยกตามหน้าที่การใช้งาน
สมรรถนะต่ำ ความสามารถในการผลิตต่ำ
ทำงานกับคน จำเป็นต้องทำงานควบคู่กับคน
ง่ายต่อการดูเเล ซ่อมเเซม เนื่องจากมีกลไกไม่ซับซ้อน
ขนาดใหญ
เครื่องจักรยุคใหม่
เครื่องจักรมีความต่อเนื่องเรียงตามขั้นตอนตั้งเเต่ต้นจนจบกระบวนการ
สมรรถนะสูง มีความละเอียดถูกต้องรวดเร็วมากขึ้น
ขนาดเล็กลง น้ำหนักเบาขึ้น
มีสมองคิด/อัตโนมัติ สามารถทำงานได้ด้วยต้นเอง
ไม่จำเป็นต้องทำควบคู่กับคน
มีกลไกซับซ้อนมีหลายระบบประกอบกัน จำเป็นต้องใช้ช่างที่มีความรู้เพิ่มมากขึ้น
จุดมุ่งหมายของการบำรุงรักษา
เพื่อให้เครื่องมือใช้งานอย่างมีประสิทธิผล
เพื่อให้เครื่องมือเครื่องใช้มีสมรรถนะการทำงานสูง
เพื่อให้เครื่องมือเครื่องเครื่องใช้มีความเที่ยงตรงน่าเชื่อถือ
เพื่อความปลอดภัย
เพื่อลดมลภาวะของสิ่งแวดล้อม
เพื่อนประหยัดพลังงาน
วัตถุประสงค์
ความมุ่งมั่นที่จะได้รับความสำเร็จ 3 ด้าน
เหตุขัดข้องเป็นศูนย์
ของเสียเป็นศูนย์
อุบัติเหตุเป็นศูนย์
ความมุ่งมั่นในการพัฒนา
เพื่อพัฒนาสภาพการทำงานให้เป็นระบบ
HUMAN MACHINE SYSTEM
เพื่อพัฒนาคุณภาพของสถานที่ทำงานให้เหมือนห้องรับเเขก
สาเหตุหลักของการเกิดปัญหาเครื่องจักร
ความเสื่อมสภาพและการการชำรุดของชิ้นส่วน
ขาดการบำรุงรักษาที่เป็นระบบ
การใช้งานอุปกรณ์ที่ผิดวัตถุประสงค์
ขาดการปรับเงื่อนไขการทำงาน
ผู้ปฏิบัติงานขาดทักษะในการทำงาน
ประเภทของการบำรุงรักษา
การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
การบำรุงรักษาเชิงพยากรณ์
การบำรุงรักษาเชิงทวีผล
การบำรุงรักษาเชิงปรับปรุงแก้ไข
การบำรุงรักษาด้วยตนเอง
การซ่อมบำรุงรักษาหลังเหตุขัดข้อง
การบำรุงรักษาทวีผลที่ทุกคนมีส่วนร่วม
ข้อมูลที่จำเป็นในการวิเคราะห์
ข้อมูลในการตัดสินใจ
ข้อมูลในการบริหาร
ข้อมูลหน้างาน
ระบบสั่งงาน
ใครต้องการข้อมูล
ข้อมูลที่สำคัญของการบำรุงรักษา
ข้อมูลจากประวัติการซ่อมเครื่องจักร เป็นเเนวทางการศึกษาความเสียหายของเครื่องจักรตลอดช่วงอายุการใช้งานชิ้นส่วนหรืออะไหล่ที่จะทำให้ผู้วางเเผนการซ่อมบำรุง
พิจารณาเหตุผลในการปฏิบัติงานของฝ่ายซ่อมบำรุง ว่าทำไม เมื่อไร และมากน้อยเพียงใด
ยืนยันถึงผลการปฏิบัติงานที่สามารถวัดประสิทธิภาพการปฏิบัติงานได้
องค์ประกอบของการบำรุงรักษาที่มีประสิทธิผล
การบันทึกและการวิเคราะห์ข้อมูล
การตรวจสอบสภาพเครื่อง
การเติมน้ำมันหล่อลื่น
การวางเเผนเเละกำหนดการบำรุงรักษา
การจัดการและควบคุมคลังอะไหล่
การจัดทำมาตรฐาน
การจัดทำงบประมาณ
ปัจจัยสำคัญของงานซ่อมบำรุง
ในขณะที่ฝ่ายซ่อมบำรุงควรจะเป็นพี่เลี้ยง
ระมัดระวังการนำแผนไปปฏิบัติเพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายของกิจกรรมทั้งสองปัจจัยสำคัญพื้นฐานอยู่ที่คน
ป้ายประกาศนโยบายกิจกรรม TPM ใหญ่กว่าป้ายชื่อโรงงาน เเต่ ผู้บริหารระดับสูงขาดความมุ่งมั่นและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมอย่าจริงจัง เพราะกิจกรรม TPM จะเน้นที่การปฏิบัติ มากกว่ารูปเเบบหรือรูปภาพที่สวยงาม
ความเป็นจริงที่พบว่าส่วนใหญ่มักจะเน้นที่การผลิตเป็นหลังจนบางครั้งลืมกิจกรรมฝ่ายซ่อมบำรุงไป
ผู้บริหารต้องเปลี่ยนวิธีคิดใหม่ หันมากำหนดกลยุทธ์การทำงานระหว่างฝ่ายผลิตกับฝ่ายซ่อมบำรุง
โดยการผนวกแผนงานของฝ่ายซ่อมบำรุงกับระบบการผลิตทั้งหมด
การนำกิจกรรม TPM เข้าไปในแต่ละแผนกของฝ่ายผลิตนั้น เป็นการกระจายความรับผิดชอบในส่วนของฝ่ายที่สามารถช่วยผลักดันและสร้างจิตสำนึกในกิจกรรมการบำรุงรักษาให้แก้พนักงานฝ่ายผลิตเป็นอย่างมาก