Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการยุติธรรม, นางสาวสิริสิน ชนะสงค์ เลขที่ 42 ม.4/16 - Coggle Diagram
กระบวนการยุติธรรม
กระบวนการยุติธรรมทางแพ่ง
กระบวนการยุติธรรม
วิธีการดำเนินการแก่ผู้ที่ประพฤติฝ่าฝืนกฎหมาย โดยอาศัยองค์กรและบุคลากรที่กฎหมายให้อำนาจไว้
กระบวนการยุติธรรมทางแพ่ง
เป็นกระบวนการสำหรับดำเนินคดีแพ่ง เช่น กรณีผิดสัญญา
ซึ่งเป็นการฝ่าฝืนกฎหมายแพ่ง
องค์กรและบุคลากรในกระบวนการยุติธรรมทางแพ่ง
คู่ความ
ศาลยุติธรรม
เจ้าพนักงานบังคับคดี
การดำเนินกระบวนการยุติธรรมทางแพ่ง
บุคคลที่เกี่ยวข้องในกระบวนการยุติธรรมทางแพ่ง
กระบวนการยุติธรรมทางแพ่งเริ่มต้นโดยคู่ความเสนอคำฟ้องต่อศาล
การพิจารณาคดีในศาลชั้นต้น
การบังคับคดีแพงจะทำต่อเมื่อลูกหนี้ตามคำพิพากษาไม่ยอมปฏิบัติตามคำพิพากษา
กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์
กระบวนการยุติธรรมแบบแก้แค้น
การกระทำผิด คือการทำผิดกฎหมาย ผู้กระทำผิดต้องรับผิดชอบต่อการกระทำ
การทดแทนการกระทำผิด ต้องทำให้ได้รับการเจ็บปวดหรือเกิดความทุกข์
มองผู้กระทำผิดเป็นเรื่องส่วนบุคคล ผู้ใดทำผิดต้องรับผิดชอบต่อการกระทำผิดของตน
ลักษณะกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์
ให้ความสำคัญกับผู้เสียหายเป็นอันดับแรก
มุ่งแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง
มีการกระทำผิดต่อผู้กระทำความผิดด้วยหลักการยอมรับและให้โอกาส
รูปแบบของกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์
การประนอมผู้พิพาทระหว่างผู้เสียหายและผู้กระทำผิด
การประชุมกลุ่มครอบครัว
การเตือนแบบ wagga wagga
การลงโทษโดยที่ประชุม
กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์
สร้างความสัมพันธ์ที่ดีแทนการลงโทษจำคุกหรือลงโทษอื่นตามที่กฎหมายกำหนด เช่น การเจรจา
กระบวนการที่สร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้กระทำผิดและผู้เสียหายกลับคืนสู่ความสัมพัน์ที่ดีต่อกัน
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
องค์กรและบุคลากรในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
พนักงานสอบสวนหรือตำรวจ
ทนายความ
พนักงานอัยการ
ศาลยุติธรรม
กรมราชทัณฑ์
การดำเนินกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
ผู้เสียหายแจ้งความต่อตำรวจ
ผู้เสียหายฟ้องคดีต่อสาล
การพิจารณาคดีอาญา
ต้องมีการฟ้องจึงจะมีการพิจารราคดีอญาได้
การพิจารณาต้องกระทำโดยเปิดเผย
การพิจารณาต้องกระทำต่อหน้าจำเลย
การพิพากษาคดีอาญา
คำพิพากษาจะถือความจริงเป็นใหญ่
ศาลจะพิจารณาลงโทษจำเลย
จะไม่มีการพิพากษาโดยไม่มีการพิจารณาพยานหลักฐานโดยศาล
นางสาวสิริสิน ชนะสงค์ เลขที่ 42 ม.4/16