Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการยุติธรรม, นางสาว นภสร ปักษิณ เลขที่ ๓๗ ชั้น ม.๔/๑๖ - Coggle…
กระบวนการยุติธรรม
องค์กรเเละบุคลากรในการกระบวนการยุติธรรมของไทย
ตำรวจ
ประชาชน
ผู้เสียหาย ผู้ต้องหา จำเลย พยาน
อัยการ
ฟ้องคดีผู้ถูกกล่าวหาต่อศาลลเป็นทนายโจทย์หรือทนายจำเลย หรือทนายความของแผ่นดิน
ทนายความ
ผู้ที่ดำเนินคดีให้แก่ลูกความในศาล
ศาล
มีอำนาจในการพิจารณาพิพากษาคดี
ศาลแบ่งเป็น ๓ ระดับ
ศาลชั้นต้น
ศาลอุทธรณ์
ศาลฎีกา
กรมราชทัณฑ์
ประวัติความเป็นมาของกระบวนการยุติธรรมของไทย
ความหมายของกระบวนการยุติธรรม
ความหมายตามพพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานว่า วิธีการดำเนินการให้ความคุ้มครองสิทธิเสรีภาพและให้ความเป็นธรรมในทางกฎหมายแก่บุคคลโดยบุคลากรและองคืกร หรือสถาบันที่มีหน้าที่บริหารงานยุติธรรม
อีกความหมายคือ การดำเนินการคดีเมื่อมีข้อพิพาทเกิดขึ้นระหว่างผู้เสียหายร้องทุดข์ต่อเจ้าพนักงาน มีการสืบสวนหาข้อเท็จจริงกับผู้กระทำความผิด จนถึงการฟ้องร้องต่อศาลทั้งในกรณีของคดีเพ่งแะคดีอาญา
ประวัติความเป็นมากระบวนการยุติธรรมของไทยในอดีต
กระบวนการยุติธรรมในสมัยสุโขทัย : ไม่มีระบบที่ชัดเจน แต่เมื่อราษฎรมีข้อพิพาทกันสามารถไปสั่นกระดิ่งที่แขวนไว้ที่หน้าประตู เพื่อให้กษัตริย์มาสอบสวนและตัดสินคดีความ
กระบวนการยุติธรรมในสมัยอยุธยา : เป็นระบบและชัดเจนกว่าสมัยสุโขทัย มีการจัดตั้งศาลเื่ออพิจารณาคดีต่างๆ ซึ่งกระจายอยู่ตามตัวกระทรวงต่างๆ ในสมัยอยุธยามีทั้งกฎหมายสารบัญญัติและกฎหายวิธีสบัญญัติใช้โดยการบัญญัติกำหมายได้รับเอาคัมภีร์พระธรรมศาสตร์มาเป็นหลักในการบัญญัติำหมาย
กระบวนการยุติธรรมในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น : มีกฎหมายตราสามดวงซึ่งชำระขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๑ ซึ่งส่วนใหญ่กำหมายที่รวบรวมมาจากกฎหมายสมัยอยุธยาซึ่งแยกออกเป็นส่วนต่างๆตามส่วนที่เกี่ยวข้องกับวิธีพิจารณาความในศาล
กระบวนการยุติธรรมหลังปฏิรูประบบกฎหมายและการศาในสมัยรัชกาที่ ๕ : ระบบศาลไทยก่อนยุคปฏิรูปการศาลในสมัยรัชกาลที่ ๕ ศาเป็นหน่วยงานที่ขึ้นอยู่กับกรมต่างๆมีตุลาการทำหน้าที่พิจารณาคดีตามที่กรมที่ตนสังกัดอยู่ มอบหมายให้มีลูกขุน ณ ศาลหลลวงทำหน้าที่พิพากษาคดี และมีผู้ทำหน้าที่ปรับบทความิดและวางบทลงโทษผู้กระทำผิดให้เหมาะสมแก่ความผิดเป็นระบบศาเดีย โดยระบบศาลไม่ต้องสังกัดอยู่กรมต่างๆ อีกต่อไป มีศาลยุติเป็นองค์กรเดียวที่ใช้อำนาจตุลาการทำหน้าที่พิจารณาพิพากษาอรรถคดี
ระบบกระบวนการยุติธรรมของไทย
กระบวนยุติธรรมทางอาญา
พนักงานสอบสวนหรือตำรวจ
เป็นองค์กรที่สำคัญที่สุดองค์กรหนึ่งในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา เพราะเป็นหน่วยงานแรกที่รับผิดชอบต่อกระบวนการยุติธรรมก่อนที่คดีหรือข้อพิพาทที่เกิดขึ้น จะผ่านไปยังพนักงานอัยการ และเข้าสู่การพิจารณาของศาล
ทนายความ
ทนายความเข้ามาเกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรม คือ เข้ามาว่าความแก้ต่างให้แก่คู่ความไม่ว่าจะเป็นโจทก์หรือจำเลย
พนักงานอัยการ
พนักงานอัยการ เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งดำเนินคดีต่อจากพนักงานสอบสวน เมื่อพนักงานสอบสวนได้สอบสวนคดีเสร็จแล้ว ก็จะส่งสำนวนการสอบสวนให้พนักงานอัยการ เพื่อฟ้องผู้ต้องหาต่อศาลต่อไป
ศาลยุติธรรม
ศาลชั้นต้น คือ ศาลที่จะเริ่มพิจารณาอรรถคดีเป็นเบื้องแรก
ศาลอุทธรณ์ คือ ศาลซึ่งวินิจฉัยข้อผิดพลาด หรือข้อขาดตกบกพร่องของศาลชั้นต้น เพื่อให้เกิดความยุติธรรมในกระบวนวิธีพิจารณาอรรถคดี
ศาลฎีกา เป็นศาลสูงสุดของศาลในระบบศาลยุติธรรม มีศาลเดียว ตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร มีอำนาจหน้าที่ในการวินิจฉัยความบกพร่อง หรือข้อผิดพลาดในการพิจารณาคดีของศาลอุทธรณ์อีกขั้นหนึ่ง
กรมราชทัณฑ์
เจ้าหน้าที่ฝ่ายราชทัณฑ์ เป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐที่เข้ามาเกี่ยวข้องในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาเกือบทุกขั้นตอน โดยทำหน้าที่ควบคุมผู้ต้องหาหรือจำเลยไว้ในระหว่างการดำเนินคดีอาญาไม่ว่าจะเป็นชั้นก่อนศาลพิจารณา ระหว่างการพิจารณา ตลอดจนภายหลังการพิจารณาพิพากษา
กระบวนการยุติธรรมทางแพ่ง
คู่ความ
นคดีแพ่งไม่ว่าจะเป็นผู้ยื่นฟ้อง (โจทก์) หรือผู้ถูกฟ้อง (จำเลย) กฎหมายจะเรียกว่าคู่ความ นอกจากนั้นคู่ความยังหมาย ความถึงผู้ร้องเรียนสำหรับคดีไม่มีข้อพิพาทด้วย
ศาลยุติธรรม
ศาลเป็นผู้พิพากษาคดีแพ่งที่คู่ความฟ้องร้องกัน พระธรรมนูญศาลยุติ-ธรรม ศาลแบ่งออกเป็น ๓ ชั้น คือ ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ และศาลฎีกา
เจ้าพนักงานบังคับคดี
พนักงานบังคับคดี คือ เจ้าพนักงานของศาลหรือพนักงานอื่นผู้มีอำนาจตามหาบัญญัติแห่งกฎหมาย ที่ใช้อยู่ในอันที่จะปฏิบัติตามวิธีการที่บัญญัติไว้ในกฎหมาย เพื่อ คุ้มครองสิทธิของคู่ความในระหว่างพิจารณา หรือเพื่อบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่ง
ความสำคัญของกระบวนยุติธรรม
กระบวนการยุติธรรมเป็นเรื่องที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง เนื่องจากมีผลกระทบต่อประชาชนในประเทศ เพราะเป็นกระบวนการวินิจฉัยข้อขัดแย้งของบุคคลในสังคมให้ได้รับความเป็นธรรม และก่อให้เกิดความสงบสุขแก่สังคม ทั้งยังเป็นสาระสำคัญของการปกครองในระบบประชาธิปไตยภายใต้หักนิติธรรม
นางสาว นภสร ปักษิณ เลขที่ ๓๗ ชั้น ม.๔/๑๖