Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หลักและวิธีการช่วยเหลือผู้สูงอายุที่มีปัญหาระบบเลือด - Coggle Diagram
หลักและวิธีการช่วยเหลือผู้สูงอายุที่มีปัญหาระบบเลือด
ภาวะโลหิตจาง (Anemia)
ภาวะซีดหรือโลหิตจางหมายถึงภาวะที่มีจำนวนเม็ดเลือดแดงที่สมบูรณ์หรือระดับฮีโมโกลบินในเลือดต่ำกว่าปกติ
สาเหตุของการเกิดภาวะโลหิตจางในผู้สูงอายุ
กระบวนการเสื่อมตามวัย
การขาดสารอาหาร
การอักเสบเรื้อรัง
อาการและอาการแสดง
ซีด
อ่อนเพลีย
ปวดศีรษะ
ใจสั่นเหนื่อยง่ายเมื่อทำกิจกรรม
การรักษาพยาบาลผู้ป่วยภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็ก
การให้ยาธาตุเหล็กชนิดรับประทาน
ให้เลือดในกรณีที่มีภาวะซีดรุนแรง
ให้ยาธาตุเหล็กชนิดฉีด
รักษาสาเหตุของการขาดธาตุเหล็ก
บทบาทของผู้ช่วยพยาบาลในการดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะซีด
สังเกตและประเมินภาวะซีก
กรณีที่มีระดับซีดรุนแรงและค่า o2 ในเลือดต่ำ
ลดการใช้พลังงานและออกซิเจน
ส่งเสริมการรับประทานอาหารที่เหมาะสม
ติดตามสาเหตุของการซีดเรื้อรัง
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับความปลอดภัยและไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับเลือด
จัดสิ่งแวดล้อม
โลหิตจางธาลัสซีเมีย
อาการและอาการแสดงของผู้ป่วยธาลัสซีเมีย
ไม่มีอาการซีด
มีอาการซีดเพียงเล็กน้อยซึ่งไม่มีผลต่อการดำรงชีวิต
มีอาการรุนแรงโดยจะมีอาการซีดตัวเหลืองตาเหลืองตับม้ามโตรูปหน้าเปลี่ยนแปลงและการเจริญเติบโตผิดปกติได้
บางชนิดจะมีอาการรุนแรงมากจนถึงเสียชีวิตตั้งแต่อยู่ในครรภ์หรือภายหลังคลอดไม่นานจากอาการซีดมากบวมน้ำหัวใจวาย
อาการของโรคธาลัสซีเมีย
มีภาวะซีดเหลืองดีซ่านอ่อนเพลียไม่มีแรง
ตัวเล็กไม่สมอายุ
กระดูกใบหน้าผิดรูป
ท้องโตตับม้ามโตอาจคลำได้ก้อนแข็ง
ติดเชื้อง่าย
กระดูกเปราะมักมีประวัติกระดูกหักหลายครั้ง
หากไม่ได้การรักษาที่เหมาะสมจะเสียชีวิตเร็วภายใน 10 ปีแรกของชีวิต
การตรวจคัดกรองพาหะของโรคธาลัสซีเมีย
ตรวจหาผู้ที่มีเม็ดเลือดแดงขนาดเล็ก
การตรวจชนิดของฮีโมโกลบิน
การตรวจ pcr
หลักการรักษาผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย
การรักษาให้หายขาดต้องให้การรักษาด้วยวิธีการปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิด
การให้เลือดจำเป็นในผู้ป่วยส่วนใหญ่ที่มีอาการปานกลางจนถึงรุนแรง
การให้ยาขับธาตุเหล็กเกินในผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย
การรักษาด้วยการตัดม้าม
การให้คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง
ควรรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูงและฟอเรสสูง
ฉีดวัคซีนตามวัยและฉีดวัคซีนไข้หวัดใหญ่ทุกปี
หลีกเลี่ยงออกกำลังกายผาดโผนหรือกีฬาที่มีการปะทะ
แปรงฟันหลังอาหารหรืออย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง
หลีกเลี่ยงสถานที่แออัดหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่และการดื่มสุรา
เข้ารับการตรวจค้นหาความผิดปกติของยีนส์ก่อนการมีบุตร
โรคเกล็ดเลือดต่ำจากภูมิคุ้มกัน
อาการและอาการแสดง
มีจุดเลือดออกตามผิวหนัง
มีเลือดออกตามไรฟัน
มีเลือดกำเดาไหล
ประจำเดือนมามาก
มีเลือดออกในทางเดินอาหาร
เลือดออกในสมอง
แนวทางการรักษาโรค itp
การให้เกร็ดเลือด
การรักษาด้วยยา corticosteroids
Intravenous immunoglobulin
Plasmapheresis
การดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะเกล็ดเลือดต่ำ
ประเมินความเสี่ยงในการเกิดภาวะเลือดออก
เฝ้าระวังความผิดปกติของเลือดออกภายในร่างกาย
จำกัดกิจกรรมที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดเลือดออก
แนะนำให้ผู้ป่วยใช้แปรงสีฟันคนอ่อนนุ่ม
ปฐมพยาบาลเบื้องต้นเพื่อห้ามเลือดเฉพาะที่
ให้การพยาบาลทุกอย่างควรทำอย่างนุ่มนวล
หลีกเลี่ยงการกระจายเลือดบ่อย
งดฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อ
ดูแลให้เกร็ดเลือด
หลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย
ดูแลให้รับประทานอาหารอ่อน
แนะนำวิธีการดูแลตนเองและการปฏิบัติต่อผู้ป่วย
โรคฮีโมฟีเลีย
อาการและอาการแสดง
เลือดออกในข้อทำให้มีอาการเริ่มด้วยเจ็บขัดในข้อถ้าทิ้งไว้นานเป็นชั่วโมงจะพบว่าข้อบวม
กล้ามเนื้อบริเวณแขนขาบวม
มีจำเขียวขนาดใหญ่ใต้ผิวหนัง
เลือดหยุดยากเวลามีบาดแผลลึกจากของมีคม
การรักษาโรคฮีโมฟีเลีย
Fresh frozen plasma
Cryoprecipitate
Cryo-removed plasma
ผู้ป่วยฉีด clotting factor concentrates (CFCs) ด้วยตนเอง
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลัน
สาเหตุ
กรรมพันธุ์
สารรังสี
สารเคมี
ยาเคมีบำบัด
ปัจจัยอื่นๆ
อาการและอาการแสดงของมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลัน
อาการที่เกิดจากเม็ดเลือดทั้ง 3 ชนิดลดต่ำลง
กลุ่มอาการจากการแทรกซึมของมะเร็งเม็ดเลือดขาวไปที่อวัยวะอื่น
กลุ่มอาการที่เกิดจากความผิดปกติของการเผาผลาญอาหารเพื่อการเพิ่มจำนวนของเซลล์มะเร็ง
การรักษามะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลัน
การรักษาจำเพาะ
การรักษาแบบประคับประคอง
การดูแลผู้ป่วยมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลัน
ปฏิบัติการรักษาโดยยึดหลักปลอดเชื้ออย่างเคร่งครัด
ผู้ป่วยที่มีภาวะซีดอ่อนเพลียดูแลให้พักผ่อนบนเตียง
ป้องกันเลือดออกจากภาวะเกล็ดเลือดต่ำ
ดูแลผู้ป่วยได้รับการดูแลสภาพร่างกายให้เหมาะสมพร้อมรับยาเคมีบำบัด
ประเมินการรับรู้ของผู้ป่วยและญาติ