Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 11 การวางแผนและการประเมินผลการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ …
หน่วยที่ 11
การวางแผนและการประเมินผลการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การวางแผนการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การวางแผน
แผนกลยุทธ์
ขั้นที่ 3 การกำหนดกลยุทธ์
เชิงป้องกัน
เชิงแก้ไข
เชิงรุก
เชิงรับ
ขั้นที่ 4 การดำเนินกลยุทธ์
ขั้นที่ 2 การวางทิศทางองค์การ
ขั้นที่ 5 การประเมินกลยุทธ์โดยใช้ตัวชี้วัด
ขั้นที่ 1 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกองค์การ (SWOT)
แผนปฏิบัติการ ซึ่งเป็นแผนที่นำเอาแผนกลยุทธ์
มาจัดทำรายละเอียด เพื่อปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์
กระบวนการวางแผน
ขั้นตอนที่ 2
การกำหนดแนวทางกลยุทธ์
กำหนดสาร วิธีการสื่อสาร และสื่อ
กำหนดงบประมาณ
กำหนดกลยุทธ์และวัตถุประสงค์
ขั้นตอนที่ 3
การเตรียมการสู่การปฏิบัติจริง
กำหนดวิธีการประเมินผลและตัวชี้วัด
สร้างการยอมรับแผนกลยุทธ์
เตรียมแผนสำรอง
ขั้นตอนที่ 1
การวิเคราะห์สถานการณ์
วิเคราะห์สถานการณ์และปัญหา
วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย
แนวคิด
มีลักษณะที่สำคัญของการวางแผน
การสื่อสารเชิงกลยุทธ์
เป็นกระบวนการ
เป็นการมุ่งไปสู่วัตถุประสงค์
เป็นการตัดสินใจล่วงหน้าเกี่ยวกับทางเลือก
เกี่ยวข้องกับการจัดสรรทรัพยากร
เป็นเรื่องเกี่ยวกับการคาดการณ์ในอนาคต
ความสำคัญ
ต่อหน่วยงานส่งเสริมการเกษตร
เป็นกรอบการตัดสินใจของผู้บริหารและนักส่งเสริม
ประหยัดเวลาในการบริหารและดำเนินงาน
ทำให้การประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ มีประสิทธิภาพ
ทำให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ทำให้สามารถทำงานได้ต่อเนื่องแม้เปลี่ยนบุคลากร
ทำให้สื่อสารการส่งเสริมการเกษตร
สอดคล้องกับนโยบายและความต้องการของเกษตรกร
ทำให้มีการกำหนดจุดมุ่งหมายอย่างชัดเจน
ต่อเกษตรกรเป้าหมาย
ช่วยให้งานส่งเสริมกับเกษตรกรเป้าหมายเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ช่วยให้มีการดำเนินงานส่งเสริมสอดคล้องกับความต้องการ
ของเกษตรกรเป้าหมาย
แผนการสื่อสารเชิงกลยุทธ์และกลยุทธ์การสื่อสารเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
กลยุทธ์การสื่อสาร
การตลาด
กลยุทธ์การสื่อสารการตลาด
มุ่งสื่อสารทุกจุดติดต่อ
มีหลายฝ่ายที่เกี่ยวข้องหรือมีส่วนได้ส่วนเสีย
เพิ่มอัตรารับบริการหรือเพิ่มจำนวนผู้ใช้บริการที่มีคุณภาพ
สามารถสื่อสารการตลาดได้หลายวิธี
มีจุดมุ่งหมายเพื่อการจูงใจและการให้ข้อมูลข่าวสาร
กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดแบบผสมผสาน
ลักษณะของ IMC
แนวทาง outside-in
ทำให้เกิดพลังร่วมกัน
ใช้การสื่อสารทุกรูปแบบเพื่อเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย
ให้ความสำคัญเรื่องการตอบกลับ
ต้องก่อให้เกิดผลในด้านพฤติกรรม
สร้างความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้เสียและกลุ่มเป้าหมายระยะยาว
กลยุทธ์การรู้เท่าทันสื่อ
วิธีการรู้เท่าทันสื่อ
ทักษะทางด้านการส่งเสริมการเกษตร
ทักษะการใช้ชีวิต
กลยุทธ์การพัฒนาตนเองเพื่อการรู้เท่าทันสื่อ
รู้จักแยกแยะความจริงและเรื่องที่สร้างขึ้น
รู้จักเปรียบเทียบข่าวสารข้อมูลด้านการเกษตรจากสื่อหลายประเภท
การเปิดรับสื่อโดยมีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน
การบริโภคสื่อและสารด้านการเกษตรด้วยความตั้งใจ
รู้จักแสวงหาข้อมูลข่าวสารด้านเกษตรที่เป็นประโยชน์
เป็นผู้บริโภคสื่อที่กระตือรือร้น
การสร้างนิสัยการตระหนักรู้ในการเปิดรับสื่อ
เรียกร้องความเป็นธรรมในฐานะผู้บริโภค
การพัฒนาความตระหนักรู้ในการเปิดรับสื่อ
ความจำเป็นในการรู้เท่าทันสื่อเพื่อส่งเสริมฯ ในสังคมไทย
แบบมีส่วนร่วม
กลยุทธ์การสื่อสารแบบมีส่วนร่วม
กลยุทธ์การสื่อสารด้านการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรโดยใช้ชุมชนเป็นศูนย์กลาง
กลยุทธ์การดำเนินงานชุมชนเพื่อการสื่อสารในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
กลยุทธ์การมีส่วนร่วมของชุมชน
แบบมีส่วนร่วมโดย
ใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน
ระยะที่ 2 สร้างองค์กรนำ กลุ่มแกนกลาง และดำเนินกิจกรรมเพื่อการจัดระบบการสื่อสารในชุมชน
ระยะที่ 3 ผลักดันสู่องค์กรการเมืองท้องถิ่น
ระยะที่ 1 ควรจะเริ่มต้นจากกลุ่มผู้สนใจปัญหาการส่งเสริมการเกษตรในชุมชน
แผนการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
ความสัมพันธ์ในแนวดิ่ง
แผนการพัฒนาการส่งเสริมการเกษตร
แผนกลยุทธ์การสื่อสาร
นโยบายด้านการเกษตรของชาติ
แผนปฏิบัติการการสื่อสาร
ปัญหาและความต้องการของเกษตรกร
เกษตรกรเป้าหมาย
ความสัมพันธ์ในแนวราบ
ระหว่างหน่วยงานภายในกับภายนอก
ระหว่างหน่วยงานกับเกษตรกร
ภายในหน่วยงาน
การประยุกต์แผนการสื่อสาร
ในการรณรงค์
ขั้นตอนการรณรงค์
กำหนดวัตถุประสงค์
กำหนดกลุ่มเป้าหมาย
กำหนดเรื่อง
กำหนดกลยุทธ์การสื่อสาร
กลยุมธ์การรณรงค์
แบบให้ความรู้
แบบโน้มน้าวใจ
แบบสนับสนุน
แบบใช้อำนาจ
ทำความเข้าใจลักษณะการรณรงค์
มีผู้นำ
ไม่มีฝ่ายต่อต้านอย่างจริงจัง
มีโครงสร้างของการทำงานแบบองค์กร
มีลักษณะของการโน้มน้าวใจอยู่ด้วยเสมอ
มีจุดมุ่งหมายที่เฉพาะเจาะจง
องค์ประกอบที่นำไปสู่การรณรงค์
ที่ประสบความสำเร็จ
ผู้นำความคิด
ความเป็นหนึ่งเดียว
กระแสความคิดเห็น
ความรู้สึก “ใช้ได้”
ความน่าเชื่อถือ
สภาพภายในจิตใจ
การสร้างภาพลักษณ์
ความสำคัญ
เชิงจิตวิทยา
เชิงธุรกิจ
ประเภท
ภาพลักษณ์ของสินค้า หรือบริการ
ภาพลักษณ์ตราสินค้า
ภาพลักษณ์องค์กร
ทำความเข้าใจลักษณะ
ที่สำคัญของภาพลักษณ์
ควรสอดคล้องกับความเป็นจริง
ต้องเด่นชัดและเป็นรูปธรรม
สร้าขึ้นได้อย่างน่าเชื่อถือ
ควรเข้าใจง่าย
เป็นการสังเคราะห์หรือสร้างขึ้นโดยการวางแผนไว้ล่วงหน้า
เป็นสิ่งที่อยู่ระหว่างจินตนาการกับความจริง
วิธีการสร้าง รักษา
และแก้ไขภาพลักษณ์
ศึกษาและเรียนรู้กลุ่มเป้าหมาย
ดำเนินการวางแผนการสื่อสาร
การประเมินผลการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
การประเมินผลการสื่อสารเชิงกลยุทธ์
แนวคิด
การประเมินผลผลิต
การประเมินผลลัพธ์
การประเมินปัจจัยนำเข้า
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
สื่อสารองค์กร
การประเมินภาพลักษณ์และชื่อเสียงขององค์กร
การประเมินผลการปฏิบัติงานขององค์กรด้วยคะแนนสมดุล
การประเมินผลการปฏิบัติงานสื่อสาร
การประเมินสื่อ
การสื่อใจความสำคัญ
การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย
การประเมินผู้รับสาร
จากโอกาสได้เห็น
จากการเข้าถึงและความถี่ของการเปิดรับสาร
จากยอดจำหน่ายและจากจำนวนผู้อ่าน/ผู้ชม
กระบวนการประเมินผล
การสื่อสารเชิงกลยุทธ์
ออกแบบการประเมิน
เลือกรูปแบบและออกแบบการประเมินผล
วางแผนเก็บรวบรวมข้อมูล
ดำเนินการประเมิน
จัดการกับข้อมูลที่รวบรวมมา
เก็บรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม
เก็บรวบรวมข้อมูล
นำข้อมูลมาวิเคราะห์
สร้างความสัมพันธ์ระหว่างนักประเมินและผู้เกี่ยวข้อง
วิเคราะห์บริบทและการกำหนด
ขอบเขตการประเมิน
ตั้งวัตถุประสงค์
กำหนดตัวชี้วัดและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
กำหนดกรอบและประเด็นที่ต้องการประเมินผล
ระบุผู้เกี่ยวข้อง
วิเคราะห์แผนการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ที่ต้องการประเมินผล
เขียนรายงานและการใช้ประโยชน์
จากผลการประเมินผล
วัตถุประสงค์
วิธีการประเมิน
คำนำ และภูมิหลังและเหตุผล
ผลการประเมิน
เนื้อความย่อ
สรุปผล
ผู้รับผิดชอบการประเมิน
ข้อเสนอแนะ
ชื่อโครงการ
ภาคผนวก
แนวคิดเกี่ยวกับการประเมิน
แนวคิดเกี่ยวกับการประเมินผล
ความสำคัญของการประเมินผล
ช่วยตัดสินใจเพิ่มหรือตัดออกหรือปรับกลยุทธ์และเทคนิคของโครงการ
ช่วยในการพิจารณาขยายแผนหรือโครงการไปยังหน่วยงานอื่น ๆ
ช่วยปรับปรุงแก้ไขงานและแนวทางให้ก้าวหน้า
ช่วยจัดสรรทรัพยากรระหว่างโครงการที่เลือกแล้วให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ช่วยตัดสินใจว่าจะให้มีแผนและโครงการต่อไปหรือจะยุติ
ช่วยในการตัดสินใจยอมรับหรือปฏิเสธเทคนิคหรือทฤษฎีที่นำมาใช้ในการดำเนินโครงการ
ทำให้ทราบผลสำเร็จขั้นต้นและขั้นสุดท้าย
ทำให้เกิดความยั่งยืนใรการพัฒนา
ประเภทของการประเมินผล
จำแนกตามจุดหมายของการประเมิน
จำแนกตามสิ่งที่ถูกประเมิน
จำแนกตามระยะเวลาในการประเมิน
จำแนกตามการยึดวัตถุประสงค์โครงการ
วัตถุประสงค์ของการประเมิน
เพื่อเพิ่มหรือลดมาตรการและเทคนิคบางประเภทในโครงการ
เพื่อสร้างโครงการในลักษณะคล้ายคลึงกันในท้องที่อื่น ๆ
เพื่อปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติในโครงการ
เพื่อแบ่งทรัพยากรระหว่างโครงการที่ต่างแก่งแย่งแข่งขันกัน
เพื่อดำเนินงานต่อหรือเลิกดำเนินงานตามโครงการ
เพื่อสนับสนุนหรือหักล้างกรอบทฤษฎีซึ่งเป็นรากฐานของโครงการ
แนวคิดใหม่ในการประเมินผล
แนวคิดการประเมินผลแบบมีส่วนร่วม
ใช้ระเบียบวิธีการวิจัยแบบมีส่วนร่วมและการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม
ใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจร่วมกับการศึกษาเชิงคุณภาพ
ประชาชนมีส่วนร่วมในการประเมินผลร่วมกับบุคคลภายนอก
วิธีการทำงานร่วมกัน
การประเมินผลโดยประชาชนกลุ่มเป้าหมายของโครงการ
แนวคิดการประเมินผลในระบบเปิด
แนวคิดพื้นฐาน
องค์ประกอบ