Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Twin with MCDA with GDM diet control with R/O preeclampsia with elderly…
Twin with MCDA with GDM diet control with R/O preeclampsia with elderly gravidarum
Passage
ระยะที่ 1
Soft passage
ปากมดลูก
Latent phase =0-3 cm ไม่เกิน 8 hr
ผู้คลอดรายนี้ os closed ,ไม่มี uterine contraction ใน 20 นาที
Active phase = 4-10 cm ไม่เกิน 5 hr
กล้ามเนื้ออุ้งเชิงกราน
อายุน้อยกว่า 18 ปี จะมีกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานที่ขยายตัวไม่ดี
ช่องคลอด : หากอายุมากกว่า 35 ปีจะมีช่องเชิงกรานขยายตัวไม่ดี ส่งผลให้อาจเกิดการคลอดล่าช้า
ผู้คลอด อายุ 37 ปี G2P0010
Bony passage
Pelvic inlet : ลักษณะเป็นรูปวงรีแนวขวาง Diagonal diameter 13 cm , True conjugate = 11-11.5 cm. , conjugate diameter = 10.7-11cm. , เมื่อมี HE -> St.=0
Mid Pelvic : ค่อนข้างกลม ด้านหน้าเป็น Symphisis pubis ด้านหลังเป็น Sarcrum, Interspinus ischial spine ประมาณ 10.5cm
Pelvic Outlet : ลักษณะเป็นรูปวงรีตามแนวตั้ง ด้านบนเป็น Symphisis pubis
ด้านล่างเป็น Coccyx, Suprapubic arch มุมไม่น้อยกว่า 85 องศา
ระยะที่ 4
Soft passage
Bladder
ประเมินดูว่ามีกระเพาะปัสสาวะเต็ม (Bladder full)โดยตรวจดูบริเวณเหนือหัวเหน่าหากกระเพาะปัสสาวะเต็มจะขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูก
ผู้คลอดรายนี้ on foley catheter with bag เนื่องจาก ไป OR Set C/S deu to Twin Vx Bx
การตั้งครรภ์แฝด
ชนิดการตั้งครรภ์แฝด
ครรภ์แฝดจากไข่ใบเดียวหรือแฝดแท้ (identical twins หรือ monozygotic twins; MZ หรือ true twins) เป็นครรภ์แฝดที่เกิดจากการปฏิสนธิจากไข่ใบเดียวและเชื้ออสุจิตัวเดียว
monochorionic, diamniontic monozygotic twins pregnancy (MCDA)เป็นครรภ์แฝดที่เกิดจากการแบ่งตัวหลังจากไข่ผสมกับอสุจิแล้วภายในช่วงเวลา 4-8 วัน ซึ่งมีการสร้าง innercell mass และ chorion แล้ว จึงมีผลทำให้มี 2 embryos, 1 chorion, 2 amnions
แฝดต่างไข่ หรือแฝดเทียม (fraternal twins หรือ dizygotic twins; DZ หรือ false twins)เป็นครรภ์แฝดที่เกิดจากไข่ 2 ใบผสมกับอสุจิ 2 ตัว
ความหมาย
การตั้งครรภ์แฝดที่ใช้รกร่วมกันแต่มีถุงน้ำคร่ำแยกออกจากกัน ร่วมกับโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์รักษาโดยการคุมอาหาร กับสงสัยความดันโลหิตสูงร่วมกับการมีโปรตีนในปัสสาวะร่วมกับการตั้งครรภ์ในสตรีอายุมากกว่า35ปี
ผลกระทบ
สตรีตั้งครรภ์
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ โลหิตจาง เบาหวานระหว่างตั้งครรภ์ การคลอดก่อนกำหนด รกเกาะต่ำ รกลอกตัวก่อนกำหนด โอกาสต้องได้รับการผ่าตัดคลอดสูง การตกเลือดหลังคลอด
หญิงตั้งครรภ์ได้รับการวินิจฉํย เป็นภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ และ เบาหวานระหว่างตั้งครรภ์
ทารก
ทารกน้ำหนักตัวน้อยกว่าปกติ คลอดก่อนกำหนด การแท้ง ความพิการแต่กำเนิด
ทารกแรกคลอด แฝดพี่ Bw 2315 gm ทารกแฝดน้อง Bw 2140 gm
1.Power
Primary power
Uterine contraction
Latent phase
Cx.0-3 cm, Eff 0-40%,D 30-45s, I 5-10min,Int mil-
Active phase
Cx.4-7cm, Eff 40-80%,D 46-60s, I 2-3min,Int mod-strong
ผู้คลอดรายนี้ os closed ,ไม่มี uterine contraction ใน 20 นาที
Transitional phase
Cx.8-10cm, Eff 100%,D 60-90s, I 2min,Int strong-seveere strong
Secondary power
แรงเบ่งผู้คลอด เกิดจากส่วนนำของทารกเคลื่อนต่ำลงมากดที่พื้นเชิงกรานและลำไส้ตรงทำให้ผู้คลอดอยากเบ่ง
ผู้คลอดรายนี้ไม่รู้สึกอยากเบ่ง ไม่มีการเปิดของปากมดลูก และ set C/S deu to Twin Vx Bx
3.Passenger
ระยะที่ 1
ทารก
ทารกไม่มีขนาดใหญ่จนเกินไป รูปร่างปกติไม่มีความพิการลำตัวอยู่ในแนวยาว มีศรีษะเป็นส่วนนำอยู่ในทรงกัมและท่าปกติและมีการปรับสภาพให้เหมาะสมกับช่องเชิงก้รานตามกลไกการคลอดปกติ
รกและเยื่อหุ้มทารก
รกอยู่ในตำแหน่งที่ไม่ขวางทางช่องคลอดผู้คลอดที่มีภาวะรกเกาะต่ำ(Placenta Previaที่มีขนาดใหญ่ผิดปกติหรือรกฝังตัวแน่นกว่าปกติจะทำให้ระยะเวลาแต่ละความก้าวหน้าของกระบวนการคลอดผิดปกติ
น้ำคร่ำ
น้ำคร่ำต้องมีปริมาณที่เหมาะสม มีสิใส หรือสีขาวขุ่น ไม่มีกลื่นไม่มีขี้เทาปน (Meconium Strained)ในกรณีที่น้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด ทำให้ไม่มีส่วนนำมากดตรงCx. ทำให้ไม่มี Furguson reflex ทำให้เกิดการคลอดล่าช้าได้
ระยัที่ 2
น้ำคร่ำ
น้ำคร่ำต้องมีปริมาณที่เหมาะสม มีสีใสหรือขาวขุ่นไม่มีกลิ่น ไม่มีMaconium strained ถ้ามีขี้เทาปนแสดงถึงภาวะทารกขาดออกซิเจน
ทารก
ทารกไม่มีขนาดใหญ่จนเกินไปน้ำหนักที่เหมาะสมประมาณ 2500 - 3500 gmsมีรูปร่างและขนาดเหมาะสมกับช่องคลอดทารกอยู่ในแนวLongitudinal line
ทารกแรกคลอด แฝดพี่ Bw 2315 gm ทารกแฝดน้อง Bw 2140 gm
4.Psycological Condition
ระยะที่ 1
ความหวาดกลัว ความวิตกกังวลต่อการคลอดประสบการณ์ที่ผ่านมา จากการได้รับรู้ ในการอ่าน ฟัง เห็นซึ่งส่วนมากจะเป็นการคลอดที่ผิดปกติจากประสบการณ์ที่เคยได้รับ อาจทำให้เกิดความฝังใจและเกิดทัศนคติที่ไม่ดีต่อการคลอด
หญิงตั้งครรภ์มีความวิตกกังวลเกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนและการผ่าตัดคลอดเนื่องจากพร่องความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับการปฏิบัติตัวในระยะคลอด
6.Position
ระยะที่ 1
การจัดท่าที่เหมาะสมเป็นปัจจัยที่จะช่วยให้การคลอดก้าวหน้า
ผู้คลอดนอนตะแคงซ้ายและเพื่อไม่ให้กดทับเส้นเลือด Inferior vena cava เลือดหมุนเวียนไปเลี้ยงมดลูกและรกได้ดีขึ้น
ระยะที่2และที่ 3
จัดท่าผู้คลอดให้เหมาะสมสำหรับการให้ยาระงับความรู้สึกโดยหากเป็นการดมยาสลบ ควรจัดท่า slight trendelenburgและหากเป็นการฉีดยาระงับความรู้สึกเข้าทางไขสันหลังควรจัดให้ผู้คลอดนอนตะแคงข้าย กัมหน้าคางจรดหน้าอกข่าทั้งสองข้างชิดกัน
ระยะที่4
ท่าทิ่เหมาะสมสำหรับการได้รับยาระงับความรู้สกโดยรายที่ได้รับยาระงับความรู้สึกแบบ spinal blockดูแลให้นอนหงายราบอย่างน้อย 8-12 ชั่วโมงเพื่อป้องกันการเกิดอาการปวดศีรษะจากการรั่วของน้ำไขสันส่วนในกรณีที่ได้รับยาสลบควรจัดให้นอนตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่งเพื่อป้องกันการสำลัก
ระยะที่1,4
ภาวะเจ็บป่วย
preeclampsia
ภาวะความดันโลหิตสูง ในขณะตั้งครรภ์ GA > 20พks ร่วมกับมีโปรตีนในปัสสาวะ มากกว่าหรือเท่ากับ 300 mg ใน24 ชั่วโมง หรือ urine dipstick มากกว่าหรือเท่ากับ+1 และ/หรือมีอาการบวมกดบุ๋ม แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
Severe feature BP > 160/110 mmHg (วัด 2ครั้งห่างกัน 4 ชั่วโมงในขณะที่ผู้ป่วยได้นอนพัก), ไม่มี/หรือมีผลบวกproteinuria, มีเกล็ดเลือดต่ำกว่า 100,000 /uL,renal insufficiency : creatinine >/ 1.1 หรือเพิ่มเป็น 2 เท่าจากเดิม (เพิ่มขึ้นสูง), มี liver enzyme เพิ่มเป็น 2เท่าจากค่าปกติหรือปวดตามชายโครงขวา
การรักษา
หลักการรักษาคือ ป้องกันการชัก ควบคุมความดันโลหิตและทำให้สิ้นสุดการตั้งครรภ์
Admit ทุกราย โดยซักประวัติตรวจร่างกายอย่างละเอียด ตรวจจอตา .Absolute bed rest
non severe feature : BP < 160/110mmHg, ไม่มี/หรือมีผลบวก proteinuria,ไม่มีเกล็ดเลือดต่ำกว่า 100,000 /uL,renal insufficiency : creatinine >/1.1หรือเพิ่มเป็น 2 เท่าจากเดิม (ปกติ), ไม่มีliver enzyme เพิ่มเป็น 2เท่าจากค่าปกติหรือปวดตามชายโครงขวา
การรักษา
ควบคุมไม่ให้ความรุนแรงของโรคเพิ่มขึ้น และดูแลให้การตั้งครรภ์ดำเนินไปจนครบกำหนดคลอด
Admit,Bed rest. CBC with platelet count,peripheral blood smear, serum BUN, creatinine,uric acid, LDH, AST,ALT, Urine protein 24 hr, Record v/s q 4 hr,NST,I/O
หญิงตั้งครรภ์Admit,Bed rest. CBC with platelet count, serum BUN
ยุติการตั้งครรภ์
ควบคุมอาการของโรคไม่ได้,ทารกอยู่ในภาวะอันตราย, อายุครรภ์ 37-40 สัปดาห์
หญิงตั้งครรภ์ได้รับการยุติการตั้งครรภ์
หญิงตั้งครรภ์ BP 140/90 mmhg ในขณะผู้ป่วยนอนพัก
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะชัก เนื่องจากภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ปัจจัยเสี่ยง
ภาวะแทรกช้อนทางสูติกรรม เช่น ครรภ์แรก
โดยเฉพาะผู้ที่มีอายุน้อยกว่า 17 ปี หรือมากกว่า 35 ปี
หญิงตั้งครรภ์ อายุ 37 ปี
ครรภ์แฝด หรือครรภ์แฝดน้ำ หรือภาวะทารกบวมน้ำ ครรภ์ไข่ปลาอุก
ตั้งครรภ์แฝด
ภาวะแทรกช้อนทางอายุรกรรม เช่นสตรีที่เป็นโรคไตหรือความดันโลหิตสูงมาก่อน เป็นโรคเบาหวานหรือโรคอ้วน (BMI > 30)
ประวัติการเป็น hypertension disorders in Pregnancy ในครอบครัว
ผลกระทบ
สตรีตั้งครรภ์
รกลอกตัวก่อนกำหนด, DIC (ภาวะเลือดไม่แข็งตัว), หัวใจขาดเลือด น้ำท่วมปอด, cerebral hemorrhage, hepatic failure, เกล็ดเลือดต่ำ, หลอดเลือดอุดตัน, ภาวะHELLP syndrome
มีโอกาสเกิดภาวะเลือดออกในสมองเนื่องจากมีภาวะความดันโลหิตสูง
ทารก
คลอดก่อนกำหนด, น้ำหนักตัวน้อยกว่าปกติ,
ขาดออกชิเจน, ภาวะ Acidosis ขณะมารดาชักทารกตายในครรภ์เฉียบพลัน (death fetus in
utero :DFU),
ทารกแรกคลอด แฝดพี่ Bw 2315 gm ทารกแฝดน้อง Bw 2140 gm
เสี่ยงต่อภาวะ fetal distress เนื่องจากภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ทารกแฝดเสี่ยงเกิดภาวะ birth asphyxia เนื่องจากมารดามีภาวะความดันโลหิตสูง มีโรคเบาหวานขณะตั้งครรภ์
เบาหวานขณะตั้งครรภ์ (gestational diabetes melitus)
เบาหวานชณะตั้งรรภ์ กลุ่มเอ 1 (GDM A1) กรณีระดับน้ำตาลในเลือดหลังงดรับประทานอาหาร ต่ำกว่า 105 มก/ตล. และระตับน้ำตาลในเลือตหลังรับประทานอาหาร 2 ชั่วโมง ต่ำกว่า 120 มก./ดล.
เบาหวานขณะตั้งครรภ์ กลุ่มเอ 2 (GDM A2) กรณีระดับน้ำตาลในเลือดหลังงดรับประทานอาหาร สูงกว่า 105 มก./ตล. และระตับน้ำตาลในเลือตหลังรับประทานอาหาร 2 ชั่วโมง สูงกว่า 120 มก./ดล
ปัจจัยเสี่ยง
พันธุกรรม
อายุ ผู้ที่มีอายุสูงขึ้นมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคเบาหวานสูงขึ้นเนื่องจากมีการสะสม
ของพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆ ที่มีผลทำให้ความไวในการทำงานของอินซูลินลดลง
ภาวะน้ำหนักเกินหรืออ้วน
พฤติกรรมการรับประหานอาหารที่ไม่เหมาะสม การรับประทานอาหารที่ให้พลังงาน
เกินความต้องการของร่างกาย
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
การแท้งบุตร (abortion) สตรีตั้งครรภ์ที่เป็นเบาหวานและมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ
ร้อยละ 30 60 จะเกิดการแท้งบุตรได้
ภาวะความตันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์ (hypertensive disorder) ภาวะระดับน้ำตาลใน
เลือดสูง มีผลทำลายชลล์เยื่อบุหลอดเลือด ทำให้หลอดเลือดแข็ง มีความต้านทานในหลอดเลือดสูงขึ้น
การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดหรือการคลอดก่อนกำหนด (preterm labor/birth)เนื่องจากมีภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูง
4.ทารกแรกเกิตมีภาวะการหายใจลำบาก (respiratory distress syndrome)
6 การตกเลือดหลังคลอด (postpartum hemorrhage) สตรีตั้งครรภ์ที่เป็นเบาหวานเสี่ยงต่อ
การตกเลือดหลังคลอดเนื่องจากมีภาวะน้ำคร่ำมากกว่าปกติ
5.ทารกแรกเกิดมีภาวะระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ (neonatal hypoglycaemia)
ทารกแรกเกิดมีภาวะระดับน้ำตาลในเลือดต่ำ ทารกแฝดพี่ ค่า DTX 27mg% ทารกแฝดน้อง ค่า DTX 37 mg %
ส่วนสูง
HT < 145 cm มีความสี่ยงต่อการคลอดเนื่องจากตัวทารกไม่สัมพันธ์กับกระดูกเชิงกราน
ผู้คลอด HT 145 cms,BMI 31.87
อายุ
อายุน้อยกว่า 17 ปี มีกระดูกเชิงกรานแคบ อาจมีภาวะ CPDอายุ มากกว่า 35 ปี กล้ามเนื้อพื้นเชิงกรานหย่อนตัวทำให้ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ ส่งผลให้การคลอดผิดปกติได้
ผู้คลอด อายุ 37 ปี
น้ำหนัก
BW > 70kg / BMI >26.1 kg/m2 มีความสี่ยงในการคลอดยากเนื่องจากช่องเชิงกรานขยายตัวไม่ดี
ผู้คลอด BW 67 kgs ,BMI 31.87