Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 9 แนวคิด ทฤษฎี หลักการสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศกับการบริหารกา…
หน่วยที่ 9
แนวคิด ทฤษฎี หลักการสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศกับการบริหารการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิด หลักการ และกระบวนทัศน์ของการสื่อสารเพื่อการพัฒนา
แนวคิด หลักการและบทบาทของการสื่อสารเพื่อการพัฒนา
หลักการ
ต้องดำเนินการบนพื้นฐานกระบวนทัศน์การพัฒนา
ต้องมีเสรีภาพในการนำเสนอ
สื่อเป็น“เครื่องมือ”ในการพัฒนา
ผู้ส่งสารต้องมีความรับผิดชอบต่อสาร
บทบาท
ด้านการบริหาร
กาหนดขอบเขต และลดความกดดันในการทำงานฝ่ายบริหาร
เป็นกรอบในการดำเนินการแบบมีส่วนร่วม
ช่วยกาหนดรูปแบบการสื่อสาร และทิศทางการกำหนดนโยบาย
มีส่วนช่วยในการกำกับติดตามและประเมินผล
ช่วยให้ทราบความต้องการและปฏิกิริยาของประชาชน
ช่วยเสริมสร้างภาพลักษณ์ขององค์กร
ด้านการพัฒนา
ช่วยส่งเสริมความเป็นอิสระและเกียรติภูมิของวัฒนธรรมชุมชน
ช่วยเป็นเครื่องมือในการวินิจฉัยปัญหาร่วมของชุมชน
การสื่อสารมีบทบาทในการช่วยให้ประชาชนวิเคราะห์และแสวงหาทางออกด้วยตนเอง
เป็นช่องทางในการรักษาสิทธิต่างๆของเกษตรกร
เป็นเวทีของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างแหล่งข่าวสารกับผู้ใช้การสื่อสาร
ต้องการกระบวนการสื่อสารที่เป็นระบบมาใช้ในการวางแผน
กระบวนทัศน์ของการสื่อสารเพื่อการพัฒนา
ยุคกระบวนทัศน์ด้านการพึ่งพา
ยุคกระบวนทัศน์ทางเลือก
ยุคกระบวนทัศน์สู่ความทันสมัย
ยุคหลังปี ค.ศ.2000
ทฤษฎีการสื่อสารเพื่อการพัฒนา
ทฤษฎีด้านบุคคล กลุ่มและสังคมในการสื่อสาร
ทฤษฎีบทบาทหน้าที่เชิงสังคมของสื่อ
บทบาทหน้าที่ของการสื่อสารต่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
บทบาทหน้าที่ของสื่อประเภทต่างๆ
การวัดบทบาทหน้าที่
บทบาทหน้าที่เป็นระบบเปิด
ที่มาของทฤษฎี
ทฤษฎีการใช้ประโยชน์และความพึงพอใจจากสื่อ
ข้อตกลงเบื้องต้นของทฤษฎีการใช้ประโยชน์ฯ
ทฤษฎีการใช้ประโยชน์ฯ
สถานะของทฤษฎีการใช้ประโยชน์ฯ
ทฤษฎีภาพสะท้อนในสื่อ
ทฤษฎีการสื่อสารแบบมีส่วนร่วม
ที่มาของแนวคิดเรื่องการสื่อสารแบบมีส่วนร่วม
ทัศนะของ เปาโล แฟรร์
ทัศนะของยูเนสโก
คุณลักษณะของการสื่อสารแบบมีส่วนร่วม
ทิศทางการไหลของข่าวสาร
ระดับของการมีส่วนร่วม
การสื่อสารแบบมีส่วนร่วมจะปรับเปลี่ยนรูปแบบการสื่อสาร
เนื้อหาสาร
ผู้ส่งสาร-ผู้รับสาร
ประเภทของสื่อ
การปรับเปลี่ยนเป้าหมายของการสื่อสาร
ผลที่เกิดขึ้น
การปรับเปลี่ยนแบบจาลองจากการสื่อสารเชิงการถ่ายทอดข่าวสารสู่การสื่อสารเชิงพิธีกรรม
ทฤษฎีสื่อแบบประชาธิปไตยเน้นการมีส่วนร่วม
ทฤษฎีผลกระทบของสื่อและการเรียนรู้ทางสังคม
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม
ประเภทของผลกระทบ
ทิศทางของผลกระทบ
ข้อเสนอใหม่ของทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคม
อิทธิพลของผลกระทบของสื่อ
ทฤษฎีเทคโนโลยีการสื่อสารเป็นผู้กาหนด
ทฤษฎีผลกระทบของสื่อ
ลักษณะของผลกระทบ
ทิศทางของผลกระทบ
จุดเน้นระหว่างสื่อกับสาร
การแปรรูปทฤษฎีผลกระทบของสื่อ
จุดเน้นระหว่างผู้ส่งสารกับผุ้รับสาร
วิธีการวิจัย
ข้อตกลงเบื้องต้นของทฤษฎีผลกระทบของสื่อ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารกับการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารและการบริการ
ประเภท
การจาแนกประเภทตามลักษณะ
ประเภทสิ่งพิมพ์และภาพ
ด้านเสียงและภาพ
ประเภทเสียง
การจาแนกประเภทตามการใช้งาน
ด้านการประมวลผล
และการจัดการข้อมูล
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
ระบบสนับสนุนการทางานแบบกลุ่ม
เทคโนโลยีคลาวด์คอมพิวติ้ง
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
ด้านการแสดงผล
เทคโนโลยีความจริงเสมือน VR
เทคโนโลยีความจริงเสริม AR
ด้านการสื่อสาร
การประยุกต์ใช้
เพื่อการบริหาร
การดาเนินการบริหารงาน
การติดตามงานและควบคุมงาน
การเตรียมการบริหารงาน
การสิ้นสุดการทำงานและการรายงานผลงาน
เพื่อการบริการ
การบริการที่ไม่ต้องระบุตัวผู้ใช้งาน
การบริการที่ต้องระบุตัวผู้ใช้งาน
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการปฏิสัมพันธ์
ประเภท
รูปแบบออฟไลน์
วิทยุกระจายเสียง
วิทยุโทรทัศน์
รูปแบบออนไลน์
เวปไซต์
สื่อสังคม
การประยุกต์ใช้
นาเสนอสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้รับ
มีความเป็นมิตร
ตอบสนองได้อย่างรวดเร็ว
มีความต่อเนื่อง
มีความน่าเชื่อถือ
แนวคิดการใช้เครือข่ายสังคม
เพื่อการบริหารและบริการ
สอนให้เกษตรกรรู้จักการสืบค้นและเลือกสรรความรู้
สร้างกิจกรรมการมีส่วนร่วมด้านไอที
ใช้เว็บไซด์
นักส่งเสริมเป็นตัวอย่างให้เห็นผลของการใช้เครือข่ายสังคมในงานส่งเสริมฯ อย่างเป็นรูปธรรม
แลกเปลี่ยนข่าวสาร ในแบบสั้นๆ กะทัดรัด สะดวก รวดเร็ว
ความหมายและความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง วิทยาการ ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ เช่น เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคม ที่นามาใช้ประโยชน์ในการจัดการงานสารสนเทศในขั้นตอนต่างๆ
ความสำคัญ
สังคม
การเมือง
เศรษฐกิจ
การสาธารณสุข
การศึกษา
การเกษตร
บทบาท
ด้านการให้ความรู้และการฝึกอบรม
ด้านการค้าและการบริการ
ด้านการสารสนเทศและการจัดเก็บข้อมูล
ด้านกลุ่มและเครือข่าย
องค์ประกอบ
ด้านซอฟต์แวร์
ด้านข้อมูลสารสนเทศ
ด้านฮาร์ดแวร์