Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ยกระดับดัชนี สร้างพลเมืองดีในสังคม - Coggle Diagram
ยกระดับดัชนี สร้างพลเมืองดีในสังคม
จริยธรรมป้องกันการทุจริต
นิยามของจริยธรรม
ความประพฤติดีงาม เพื่อประโยชน์สุขของตนเเละสังคม
การรู้จักไตร่ตรองว่าอะไรควรทำ หรือไม่ควรทำ
เป็นหลักสำคัญในการควบคุมพฤติกรรมของเจ้าหน้าที่รัฐ เปรียบเหมือนโครงสร้างพื้นฐานที่ต้องยึดถือปฏิบัติ
องค์ประกอบของจริยธรรม
ความรู้เหตุผล
เข้าใจในความถูกต้อง เเยกเเยะเเละตัดสินใจด้วยความคิด
อารมณ์ความรู้สึกผิดชอบชั่วดี
ความพึงพอใจ ศรัทธา เลื่อมใสยอมรับ เเละนำมาเป็นเเนวทางปฏิบัติ
พฤติกรรมการแสดงออก
การเเสดงออกที่บุคคลตัดสินใจว่าเป็นการกระทำถูกหรือผิด ในสถานการณ์เเวดล้อมต่างๆ
คุณธรรม 8 ประการ
ขยัน
ประหยัด
ความซื่อสัตย์
มีวินัย
สุภาพ
สะอาด
สามัคคี
มีน้ำใจ
คุณธรรมแห่งความพอเพียง
การฝึกวินัยขั้นพื้นฐาน เช่น ขยันหมั่นเพียร พึ่งตนเอง ตรงต่อเวลา รับผิดชอบ ประหยัดอดออม ซื่อสัตย์ มีสัมมาคารวะ รักชาติ
การรักษาศีลตามความเชื่อในศาสนาของตน
การทำสมาธิ ทำให้เกิดปัญญาเเละพิจารณาทุกอย่างตามความเป็นจริง
ฝึกการเป็นผู้ให้ เช่น ให้อภัย เเบ่งปันความรู้ อุทิศเเรงกายเเรงใจเพื่อส่วนรวม
ความซื่อสัตย์สุจริต
กายสุจริต ->> สุจริตทางกาย
วจีสุจริต ->> สุจริตทางวาจา
มโนสุจริต ->> สุจริตทางใจ
ฆราวาสธรรม 4
สัจจะ (ความจริง)
ทมะ (การข่มใจ)
ขันติ (ความอดทน)
จาคะ (การเสียสละ)
ความโปร่งใสในการปฏิบัติงาน
นิยามของความโปร่งใส (transparency)
การกระทำการใดๆของภาครัฐทั้งระดับบุคคลเเละองค์กร ที่ผู้อื่นมองเห็นได้ คาดเดาได้ เเละเข้าใจได้
หลักธรรมาภิบาล (good governance)
หลักนิติธรรม (the rule of law)
หลักการเเบ่งเเยกอำนาจเป็นพื้นฐานที่สำคัญของหลักนิติธรรม
หลักการคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพ
หลักความชอบด้วยกฎหมายของฝ่ายตุลาการ เเละฝ่ายปกครอง
หลักความชอบด้วยกฎหมายในทางเนื้อหา
หลักความอิสระของผู้พิพากษา
หลัก ไม่มีความผิด เเละไม่มีโทษโดยไม่มีกฎหมาย
หลักความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
หลักคุณธรรม (morality)
การยึดมั่นในความถูกต้อง ดีงาม ส่งเสริมให้บุคลากรพัฒนาตนเองไปพร้อมกัน เพื่อให้เกิดความซื่อสัตย์ จริงใจ ขยัน อดทน มีระเบียบ วินัย สุจริตเป็นนิสัยประจำชาติ
หน่วยงานสำคัญ
หน่วยงานปลอดการทุจริต
หน่วยงานปลอดจากการทำผิดวินัย
หน่วยงานปลอดจากการทำผิดมาตรฐานวิชาชีพนิยมเเละจรรยาบรรณ
หลักความโปร่งใส (accountability)
หน่วยงานสำคัญ
หน่วยงานมีความโปร่งใสด้านโครงสร้าง
มีการตรวจสอบภายในที่เข้มเเข็ง
โปร่งใส เห็นระบบงานทั้งหมดชัดเจน
ประชาชนมีส่วนร่วม รับรู้การทำงาน
มีเจ้าหน้าที่มาด้วยระบบคุณธรรม เเละมีความสามารถสูงมาอยู่ใหม่
มีการตั้งกรรมการหรือหน่วยงานตรวจสอบใหม่
มีฝ่ายบัญชีที่เข้มเเข็ง
หน่วยงานมีความโปร่งใสด้านการให้คุณ
มีค่าตอบเเทนพิเศษในการปฏิบัติงานเป็นผลสำเร็จ
มีค่าตอบเเทนเพิ่มในการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ
มีค่าตอบเเทนพิเศษกับเจ้าหน้าที่ที่ซื่อสัตย์
มีมาตรฐานเงินเดือนสูงพอกับค่าใช้จ่าย
หน่วยงานมีความโปร่งใสด้านการให้โทษ
มีระบบตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพ
มีวิธีพิจารณาลงโทษผู้ทำผิดอย่างยุติธรรม
มีการลงโทษจริงจัง
มีระบบการฟ้องร้องผู้ทำผิดที่มีประสิทธิภาพ
หัวหน้างานลงโทษผู้ทุจริตอย่างจริงจัง
มีการปรามผู้ส่อทุจริตให้เลิกความพยายาม
มีกระบวนการยุติธรรมที่รวดเร็ว
หน่วยงานมีความโปร่งใสด้านการเปิดเผยข้อมูล
ประชาชนรับรู้การทำงานของคณะกรรมการตรวจสอบ
ประชาชนเเละสื่อมวลชน มีส่วนร่วมในการออกกฎระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ
ประชาชน สื่อมวลชน เเละองค์กรพัฒนาเอกชน มีโอกาสควบคุมฝ่ายบริหารมากขึ้น
มีการใช้กลุ่มวิชาชีพภายนอกเข้ามาร่วมตรวจสอบ
หลักการมีส่วนร่วม (participation)
ระดับการให้ข้อมูล
ระดับการเปิดรับความคิดเห็นจากประชาชน
ระดับการวางเเผนร่วมกัน เเละการตัดสินใจ
ระดับการพัฒนาศักยภาพในการมีส่วนร่วม
หลักความรับผิดชอบ (responsibilty)
การมีเป้าหมายที่ชัดเจน
ทุกคนเป็นเจ้าของร่วมกันจากเป้าหมายที่กำหนดเอาไว้
การปฏิบัติการอย่างมีประสิทธิภาพ
การจัดการพฤติกรรมที่ไม่เอื้อการทำงานอย่างไม่หยุดยั้ง
การมีแผนสำรอง
การติดตามเเละประเมินผลการทำงาน
หลักความคุ้มค่า (cost-effectiveness or economy)
การประหยัด
การใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ความสามารถในการเเข่งขัน
มาตรฐานของรัฐในการป้องกันเเละปราบปรามการทุจริตของรัฐ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560
วาระการปฏิรูปที่ 1 การป้องกันเเละปราบปรามการทุจริตเเละประพฤติมิชอบของสภาปฏิรูป
ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจเเละสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564)
โมเดลประเทศไทยสู่ความมั่นคง มั่งคั่งเเละยั่งยืน (Thailand 4.0)
ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันเเละปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ.2560-2564)
ข้อมูลข่าวสารด้านการป้องกันการทุจริต
การร้องเรียนผ่าน ป.ป.ช.
การร้องเรียนการทุจริตของหน่วยงานต่างๆ