Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การกำหนดปัญหาการวิจัยและการตรวจสอบเอกสารที่เกี่ยวข้อง, ต้นทุนเพียงพอ …
การกำหนดปัญหาการวิจัยและการตรวจสอบเอกสารที่เกี่ยวข้อง
การกำหนดหัวข้อปัญหาการวิจัยปัญหาการวิจัย
แนวทางการกำหนดหัวข้อ
ความสามารถของผู้ความสามารถของผู้วิจัยในเรื่องใดสาขาใด
ความสนใจของผู้ความสนใจของผู้วิจัยสนใจงานด้านใดเรื่องใดควรนำมาเป็นหัวข้อ
กรอบวิจัยของแหล่งทุนสนับสนุนการวิทำวิจัย
ทิศทางหรือแนวโน้มของการพัฒนางานวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพงานสาธารณสุขงานแรงงานสิ่งแวดล้อมทิศทางตามแนวนโยบายของรัฐ
ข้อแนะนำจากงานวิจัยที่ผ่านมาในการวิจัยแต่ละครั้งผู้วิจัยจะเขียนในรายงานเกี่ยวกับเรื่องที่ควรทำ
มีหลักการและเหตุผลโจทย์การวิจัย
Gap of knowledge
ช่องว่างของความรู้ที่ยังต้องเติมเต็ม
ข้อเท็จจริงที่มีอยู่ในปัจจุบัน
(Secondary data)
สภาพปัญหาที่นักวิจัยได้สำรวจเอง
(Primary data)
งานวิจัยที่เคยทำผ่านมาสังเกตจากประเด็น
Discussions และ Limitations
นโยบายจากภาครัฐที่ต้องการแก้ไขปัญหาเร่งด่วนในทันทีเช่นสถานการณ์ของโรคโควิด-19 เป็นต้น
ปัญหาวิจัย
(Research Problems:RP
สิ่งที่เห็นปัญหา และมีอยู่จริง
[คำถามวิจัย
(Research Questions:RQ
คำถามที่นักวิจัยตั้งไว้จากข้อเท็จจริงที่ปรากฏ หรือไม่ อย่างไร ทำไม เพราะอะไร (เป็นประโยคคำถาม)
นำไปสู่การกำหนดวัตถุประสงค์การวิจัย(ResearchObjective)
และการตั้งชื่อเรื่องวิจัย (Research Topic) ที่กระชับ ชัดเจนและสอดคล้องกัน
F:feasible
(งานวิจัยเป็นไปได้ไหม)
กลุ่มตัวอย่างเพียงพอต่อการศึกษา
(เป็นไปตามหลักการทางระเบียบวิธีวิจัยและหลักทางสถิติ)
นักวิจัยมีความเชี่ยวชาญทางเทคนิควิธี
(ทักษะการใช้เครื่องมือเครื่องมือประสบการณ์)
สามารถบริหารจัดการทรัพยากรได้ในขอบเขตที่กำหนด
มีแหล่งทุนสนับสนุน(หากเป็นงานวิจัยที่ต้องใช้งบประมาณที่ค่อนข้างมาก)
I:interesting
(งานวิจัยที่น่าสนใจหรือเปล่า)
คำถามงานวิจัยที่น่าสนใจ
(ไม่ใช่แค่ตัวนักวิจัยเอง หากแต่คนอื่น/หน่วยงานอื่น ให้ความสนใจด้วย)
N:novel(มีอะไรใหม่หรือแตกต่าง)
ความใหม่หรือแตกต่าง
องค์ความรู้ที่เพิ่มจากสิ่งที่ค้นพบเดิมในอดีต
นวัตกรรม (เทคนิควิธีการอุปกรณ์โมเดลหรือรูปแบบการศึกษาวิจัย)
E:ethical
(วิจัยนั้นมีจริยธรรมหรือผิดจริยธรรมหรือไม่)
คำถามงานวิจัยที่ดีไม่ควรนำไปสู่วิจัยที่ผิดจริยธรรมควรไม่มีความเสี่ยงต่อร่างกายและ
ด้านอื่นๆของกลุ่มตัวอย่างผู้เข้าร่วมโครงการวิจัยและไม่ลุกล้ำสิทธิส่วนบุคคล
R:relevant(ตรงประเด็นกับที่สนใจหรือไม่)
มีความชัดเจนและตรงประเด็นที่นักวิจัยต้องการหาคำตอบ
ทำแล้วมีโอกาสในการพัฒนาองค์กรหรือชุมชนได้
สามารถชี้นำแนวทางการทำวิจัยในอนาคตต่อไปได้
การตั้งคำถามวิจัยที่ดีตามหลักของPICOจะช่วยให้โจทย์ของงานวิจัยชัดเจนมากขึ้น
สมมมติฐานการวิจัย (Research Hypothe)
สมมติฐานเป็นความคาดหวังในผลที่จะเกิดขึ้นจากการวิจัย
เป็นการนำคำอธิบายของทฤษฎีมาทำนายการเขียนเป็นการนำปัญหาการวิจัยมาเปลี่ยนให้อยู่ในรูปแบบของคำตอบที่คาดเดาได้อย่างมีเหตุผล
สมมติฐานเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของกระบวนการค้นหาความรู้ที่เป็นวิทยาศาสตร์
การทำวิจัยเรื่องหนึ่งจะมีสมมุติฐานหรือไม่ขึ้นอยู่กับระเบียบวิธีวิจัย
การตั้งสมมุติฐานใช้วิธีการของการอุปมานเน้นการสังเกตุและการอนุมานเน้นการใช้เหตุผลในการวิเคราะห์ที่สิ่งที่สังเกตได้
ถ้ามีความสามารถตั้งได้อย่างน้อยหนึ่งสมมุติฐานหรืออาจมากกว่าหนึ่งได้
การวิจัยที่มีสมมุติฐานมักเป็นการวิจัยที่ที่ยืนน่ะในลักษณะที่เป็นการหาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรหรือเป็นการวิจัยที่อยู่ในลักษณะที่เป็นการเปรียบเทียบ
ลักษณะของสมมติฐานที่ดี
ต้องระบุความสัมพันธ์ของตัวแปรที่ศึกษาคาดหมายล่วงหน้าว่าจะเกิดขึ้นโดยอยู่ในรูปแตกต่างกันมากกว่าน้อยกว่าสัมพันธ์กันขึ้นอยู่กับเป็นต้น
ความสัมพันธ์ที่กล่าวถึงมีเหตุผลเหมาะสมสอดคล้องกับผลการวิจัยและทฤษฎีที่นำมาเป็นกรอบความคิดในการวิจัย
ความสัมพันธ์ที่กล่าวถึงสามารถทดสอบได้นั้นคือตัวแปรที่ศึกษาต้องวัดไว้สังเกตได้และความสัมพันธ์นั้นวิเคราะห์ได้ด้วยวิธีทางสถิติ
ประโยคที่เป็นสมมุติฐานต้องแสดงความเป็นเหตุเป็นผลที่เหมาะสมน่าเชื่อถือได้
สมมติฐานมี 2 ประเภท
1.สมมุติฐานทางการวิจัยเป็นคำตอบที่ผู้วิจัยคาดคะเนไว้ล่วงหน้าและเป็นข้อความที่แสดงความเกี่ยวข้องระหว่างตัวแปร
1.2 สมมุติฐานทางการวิจัยไม่มีแบบไม่มีทิศทางเป็นสมมุติฐานที่ไม่กำหนดทิศทางของความแตกต่างดังตัวอย่างที่สองหรือไม่กำหนดทิศทางของความสัมพันธ์
1.1 สมมติฐานทางการวิจัยมีแบบมีทิศทาง (Direction hypothesis) เป็นสมมติฐานที่เขียนระบุอย่างชัดเจนถึงทิศทางของความแตกต่างถึงทิศทางของความแตกต่างระหว่างกลุ่ม โดยมีคำว่าดีกว่าหรือสูงกว่าหรือต่ำกว่าหรือน้อยกว่าในสมมุติฐานนั้นนั้นดังนั้นดังตัวอย่างที่หนึ่งข้างต้นคือระบุทิศทางของความสัมพันธ์โดยมีคำว่าทางบวกหรือทางลบในสมมุติฐานนั้นนั้น
2.สมมุติสมมุติฐานทางสถิติ(Statistical hypothesis)
2.1 สมมติฐานที่เป็นกลางหรือสมมติฐานที่ไร้นัยสำคัญ (Null hypothesis)
2.2 สมมติฐานอื่น (Alternative hypothesis) สัญลักษณ์ที่ใช้คือ H1
การเขียนความสำคัญของปัญหาการวิจัย
เป็นส่วนเนื้อหาที่นักวิจัยต้องแสดงให้เห็นว่า
เรื่องที่จะทำวิจัยมีที่มาที่ไปอย่างไร (ความเชื่อมโยง)
มีความสำคัญอย่างไร (นโยบายประเทศ/SDG/..
สาเหตุที่คิดจะทำเรื่องนี้เพราะอะไร
(ปัญหา/ช่องว่าง(GAP))
ต้องมีสถิติหรือข้อมูลประกอบจะทำให้มีน้ำหนักความสำคัญมากกินขึ้น
การเขีการเขียนในส่วนนี้ให้พยายามคิดว่าจะเขียนอย่างไรเขียนอะไรที่จะทำให้เจ้าของทุนเห็นความสำคัญและยินดีให้ทุนสนับสนุน
เทคนิคการเขียนความเป็นมาและความสำคัญของปัญหาการวิจัย
เขียนจากแนวกว้างไปสู่แคบจนถึงปัญหาการวิจัยชักแม่น้ำทั้งห้าเพื่อเข้าสู่ประเด็นปัญหาที่ต้องทำการวิจัย
ระบุปัญหาการวิจัยให้ลูกคำถามหรือประโยคบอกเหล้าก็ได้
เขียนให้มีการอ้างอิงข้อมูลจากการศึกษาค้นคว้า
เขียนให้เห็นความสำคัญเชิงประโยชน์และเชิงโทษที่จะได้รับ
เขียนความยาวประมาณ 3-5 กระดาษ
ต้องมีข้อความชื่อก่อนเข้าสู่วัตถุประสงค์
ข้อพิจารณา
การอ่านการอ่านอิงข้อมูลต้องไม่เก่าเกิน 10 ปีปีสุดท้ายที่แสดงไม่ควรเกินห้าปีนับจากปัจจุบันและระบุอ้างอิงต้องมีที่มาของข้อมูลด้วย
ไม่ควรเขียนในลักษณะภาพกว้างเกินความจำเป็นเช่นเน้นการกล่าวถึงระดับโลกประเทศชาติมากเกินไปจนทำให้กรอบความสำคัญในประเด็นที่เป็นปัญหาในพื้นที่นั้นแคบจนเกินไป
ระบุว่ามีความจำเป็นมีปัญหาแต่ยังไม่พบคำตอบที่ต้องการค้นหาหรือยืนยันคำตอบที่ต้องการเพื่อชี้ให้เห็นถึงประโยชน์ของการวิจัย
ข้อความควรหลีกเลี่ยงภาษาพูด
การกำหนดวัตถุประสงค์ของการกำหนดวัตถุประสงค์ของการวิจัย
2.เขียนให้สอดคล้องกับวิธีการวิจัยตัวอย่างวัตถุประสงค์ระบุว่าจะหาความสัมพันธ์แต่สถิติที่เลือกใช้เป็นสถิติเพื่อการเปรียบเทียบ
3.เขียนในรูป…เพื่อตัวอย่าง
เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นฐานของประชากรกลุ่มเป้าหมาย
เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อสินค้า
เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลพื้นฐานของประชากรกับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อสินค้า
เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะข้อคิดเห็นที่จะเป็นประโยชน์ในการปรับปรุงสินค้าหรือบริการให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
1.เขียนเป็นข้อๆ
การกำหนดตัวแปรที่ใช้ในงานวิจัย
ประเภทของตัวแปรมี 4 ประเภท
2.ตัวแปรตาม (dependent variable )เป็นตัวแปลที่เกิดขึ้นหรือแปลผันไปตามตัวแปรอิสระ
3.ตัวแปรแทกซ้อนหรือตัวแปรเกิน (extraneous variable)มีลักษณะเหมือนตัวแปรอิสระแต่เป็นตัวแปรที่ผู้วิจัยไม่ได้มุ่งศึกษาซึ่งอาจจะมีเหตุผลหรือมีอิทธิพลต่อตัวแปรตามทำให้ข้อสรุปของการวิจัยขาดความถูกต้องเที่ยงตรง
1.ตัวแปรอิสระ (indecent variable) หรือตัวแปรต้น เป็นตัวแปรที่อิสระไม่ขึ้นอยู่กับตัวแปรอื่นๆ
4.ตัวแปรสอดแทรก(intervening variable) เป็นตัวแปรอีกชนิดหนึ่งที่จะมีอิทธิพลต่อตัวแปรตามคล้ายๆกับตัวแปรแทรกซ้อน
ระดับของการวัดตัวแปร (level of measurement) แบ่งออกเป็น4ระดับ
ระดับการวัดในมาตราอันตรภาค (interval scale)
ระดับการวัดในมาตรานรมบัญญัติหรือระดับกลุ่ม (nominal scale)
ระดับการวัดในมาตราอันดับ (ordinal scale)
ระดับการวัดในมาตราอัตราส่วน (ratio scale)
การนิยามตัวแปร
คือการให้ความหมายแก่ตัวแปลว่าหมายถึงอะไรควบคุมอะไรบ้างมีขอบเขตแค่ไหนทั้งนี้อาจจะต้องรวมไปถึงวิธีการวัดตัวแปรเหล่านั้นด้วยว่าวัดอย่างไร
การกำหนดความหมายของตัวแปรให้การกำหนดความหมายของตัวแปรให้ถูกต้องและชัดเจนได้มากเท่าไหร่เท่ากับเป็นการลดปัญหาในการสร้างเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลได้มากเท่านั้น
การสร้างนิยามตัวแปร
2.คำนิยามเชิงปฏิบัติการ(operational definition) การให้ความหมายทั้งในแง่ความถูกต้องของเนื้อหาบอกอาการระบุกิจกรรมหรือพฤติกรรมซึ่งสามารถวัดหรือสังเกตได้
1.คำนิยามธรรมดา (general or conceptual definitions)เป็นความหมายโดยทั่วไปอาจเป็นนิยามทางทฤษฎี
การตรวจสอบเอกสารที่เกี่ยวข้องหรือการทบทวนเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง(Reviewed literature)
วัตถุประสงค์ของการทบทวนวรรณกรรม
แสดงความรู้ปัจจุบันที่มีอยู่
แสดงขอบเขตและพรมแดนของความรู้
ศึกษาแบบแผนการวิจัยและจุดอ่อนแข็งของงานวิจัยที่ผู้อื่นทำมาแล้ว
สร้างกรอบคิดในการวิจัย
แสดงความเข้าใจด้วยการสร้างกรอบคิดการวิจัย
การออกแบบการวิจัยที่เหมาะสม
หาความสำคัญของปัญหา
ตรวจสอบบริบทของการศึกษา
หาช่องว่างทางความรู้
ตรวจสอบความซ้ำซ้อน
หาแนวคิดที่เกี่ยวข้อง
ตรวจสอบแนวคิดพื้นฐาน
แนวคิดเบื้องหลังตัวแปรที่ศึกษา
ความสำคัญของกับการทบทวนวรรณกรรม
1.เป็นหลักฐานว่างานวิจัยที่ทำมีคุณค่าและเชื่อถือได้ในด้านวิชาการ
2.ทำให้ผู้ที่นำงานวิจัยไปใช้มีความเชื่อมั่นในคุณภาพและความถูกต้องของแนวคิดและทฤษฎีที่นำมาใช้
3.สามารถนำเสนอผลการวิจัยที่ชี้ให้เห็นความสอดคล้องและความขัดแย้งกับผลงานวิจัยอื่นๆ
4.ผู้อ่านได้สารสนเทศด้านแนวคิดและคุณลักษณะของการวัดในมิติต่างๆ
5.ทำให้ผู้เกี่ยวข้องได้เห็นพัฒนาการในมิติต่างๆและของความรู้ในเรื่องที่ทำวิจัย
6.แสดงให้เห็นว่างานวิจัยที่จะทำเหมาะสมกับองค์ความรู้ที่มีอยู่
7.ทำให้ใช้ทรัพยากรอย่างเป็นประโยชน์สูงสุด
ประโยชน์ของการทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1.ให้ความรู้และความเข้าใจที่สมบูรณ์และลึกซึ้งแก่ผู้วิจัยในประเด็นที่ศึกษา
2.ให้แนวคิดแบบแผนการวิจัยกระบวนการและขั้นตอนในการวิจัย
3.ชี้ให้เห็นช่องว่างหรือความไม่สมบูรณ์ขององค์ความรู้นำไปสู่การตั้งประเด็นปัญหาการวิจัยและพัฒนาปรับปรุงประเด็นปัญหาวิจัยของตน
4.ทำให้ทราบปัญหาอุปสรรคหรือข้อกรรมจำกัดที่อาจเกิดขึ้นกับงานวิจัย
5.ให้หลักฐานอ้างอิงถึงแหล่งที่มาของตัวแปรที่ศึกษาและความเกี่ยวพันกับตัวแปรอื่น
6.ผู้อ่านและผู้นำงานวิจัยไปใช้เข้าใจในตัวแปรที่ศึกษาสอดคล้องกับผู้วิจัย
7.มีหลักฐานอ้างอิงในการวิจัยทำให้งานวิจัยมีความน่าเชื่อถือ
8.ให้พื้นฐานในการแปลความหมายผลของการวิจัย
9.ผู้วิจัยสามารถให้สารสนเทศที่ได้รับการทบทวนวรรณกรรมเป็นพื้นฐานในการออกแบบการวิจัย
ขั้นตอนการทบทวนวรรณกรรม
สืบค้น
จักการเรียบเรียง
เขียน
หลักการคัดเลือกและประเมินวรรณกรรมที่เหมาะสม
3.ความทันสมัยควรพิจารณาเนื้อหาข้อมูลที่ทันสมัยมีการพิมพ์ล่าสุดหรือไม่เกินห้าปี
4.แหล่งข้อมูลแหล่งข้อมูลที่ใช้ประกอบจากแหล่งปฐมภูมิจะมีความน่าเชื่อถือมากกว่าแหล่งทุติยภูมิ
5.วิธีการเขียนควรพิจารณาวรรณกรรมที่เข้าใจได้ง่ายมีการเรียบเรียงที่ดีไม่ซับซ้อนมาก
2.ความถูกต้องเป็นการตรวจสอบความถูกต้องของเนื้อหาความสอดคล้องกับเนื้อหากับโจทย์วิจัยที่กำหนด
6.การอ้างอิงหนังสือหรือเอกสารนั้นมีเอกสารอ้างอิงที่ทันสมัยและความน่าเชื่อถือเพียงใด
1.ผู้เขียนพิจารณาความเชี่ยวชาญประสบการณ์ในเรื่องนั้น
7.สำนักพิมพ์หนังสือเอกสารที่พิมพ์ต่างสำนักพิมพ์ก็จะมีคุณภาพที่แตกต่างกัน
แหล่งสืบค้นวรรณกรรมที่แพร่หลาย
1.ประเภทเอกสารสิ่งพิมพ์
1.1 หนังสือตำราวิชาการทั่วไป
1.7ดัชนีวารสารและสาระสังเขป
1.8หนังสือบรรณานุกรม
1.6หนังสืออ้างอิง
1.5 วารสารปริทัศน์
1.4รายงานประชุมสัมมนาวิชาการ
1.3รายงานผลการวิจัยวิทยานิพนธ์และดุษฎีนิพนธ์
1.2วารสารวิจัยและวารสารวิชาการ
2.ประเภทฐานข้อมูลเป็นวรรณกรรมขนาดใหญ่ที่รวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันไว้ด้วยการกันเพื่อสะดวกในการใช้การสืบค้นอาจใช้Onlineภัณฑ์แหล่งผลิตฐานข้อมูลหรือผ่านระบบเครือข่ายหรือสืบค้นด้วย DC-ROM ก็ได้
3.ประเภทอินเทอร์เน็ทการสืบค้นต้องผ่าน Search Engine ที่เชื่อมโยงไปยังเว็บไซต์ต่างๆที่นิยมกันแพร่หลายและให้บริการฟรี
เนื้อหาที่ต้องทบทวนจากวรรณกรรม
1.สถานการณ์ที่เป็นปัญหา
เป็นการทบทวนในสิ่งที่ชี้บอกว่าเรื่องที่จะทำเป็นปัญหา
2.แนวคิด ทฤษฎี ที่ใช้สนับสนุน
ทฤษฎีที่กล่าวว่าอย่างไรมีข้อดีข้อเสียอย่างไรบ้างมีการนำไปใช้โดยตรงหรือว่าประยุกต์อย่างไรบ้างและในการวิจัยครั้งนี้จะใช้ทฤษฎีอะไร
3.งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ต้องทบทวนทั้งเนื้อหาวิชาเนื้อเรื่องตัวแปรที่ศึกษาและวิธีการวิจัยที่ใครทำเรื่องอะไรกับใครที่ไหนด้วยวิธีการอย่างไรและผลของการวิจัยและข้อสรุปเป็นอย่างไร
4.เครื่องมือวิจัยและเครื่องมือเก็บข้อมูล
ต้องทบทวนว่ามีเครื่องมือวิจัยและเครื่องมือเก็บข้อมูลของใครพอที่จะนำมาใช้กับการวิจัยของเราได้บ้าง
5.สถิติและแนวทางการวิเคราะห์ข้อมูล
จำเป็นจะต้องทบทวนด้วยจะได้ใช้เป็นแนวทางในการกำหนดปัญหาการวิจัยสมมุติฐานของขอบเขตการนิยามและแนวทางการวิเคราะห์
6.รูปแบบและลีลาการเขียนรายงาน
เพื่อให้รู้ว่าเมื่อต้องเขียนรายงานผลการวิจัยครวทำการทบทวนเพิ่มเติม หรือใช้เป็นแนวทางในการเขียนส่วนต่างๆของรายงาน
การเรียบเรียงวรรณกรรมที่ดี
2.ทำบรรณานุกรมระบุชื่อผู้เขียนที่พี่ปีที่พิมพ์ชื่อบทความตำราชื่อวารสารเลขหน้าตามหลักการอ้างอิง
3.ย่อยและสังเคราะห์วรรณกรรมนั้นให้เป็นอันหนึ่งอันเดียวกันผู้วิจัยควรเขียนทบทวนวรรณกรรมจากการย่อยหรือสังเคราะห์วรรณกรรมที่ค้นคว้ามาไม่ควรใช้วิธีตัดต่อหรือย่อเนื้อหา
บันทึกสาระสถิติข้อมูลสำคัญที่เกี่ยวข้องกับประเด็นหรือสัมพันธ์กับงานวิจัยที่กำหนดไว้
4.การเขียนควรตั้งหัวข้อตามประเด็นการศึกษาที่ตั้งไว้และเขียนในเชิงวิเคราะห์ว่าในแต่ละประเด็นนั้นมีความรู้ทฤษฎีหรือแนวความคิดอะไรที่เกี่ยวข้องบ้างและงานหลายหลายชิ้นมีข้อสรุปอะไรบ้างที่รวมกันเหมือนหรือขัดแย้งกันในเรื่องอะไรบ้างอย่างไรเป็นต้น
5.การการทบทวนวรรณกรรมต้องมีการอ้างอิง
กรอบแนวคิดในกรอบแนวคิดในการวิจัย
กรอบแนวคิดในการวิจัย
สามารถเชื่อมโยงไปสู่การกำหนดกรอบทิศทางการทำงานวิจัยได้เหมาะสมถูกต้องโดยเฉพาะวิเคราะห์ข้อมูล
สร้างความชัดเจนในงานวิจัยว่าจะสามารถตอบคำถามที่ศึกษาได้
เป็นแนวทางในการกำหนดความหมายตัวแปรการสร้างเครื่องมือและการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัย
เป็นตัวชี้นำทำให้ผู้วิจัยเกิดความมั่นใจว่างานวิจัยเป็นไปในแนวทางที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
สามารถเข้าใจแนวคิดสำคัญที่แสดงถึงแก่นของปัญหาการศึกษาในระยะเวลาอันสั้น
แหล่งที่มาของกรอบแนวคิดการวิจัย
1.ผลงานวิจัยที่ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง:ผู้วิจัยควรอย่างยิ่งที่ต้องศึกษาผลการวิจัยต่างๆที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่กำลังศึกษาอยู่ทั้งนี้เพราะไม่เพียงแต่จะได้กาแฟกัญชาเพื่อใช้ในการกำหนดกรอบเท่านั้นแต่จะเข้าใจถึงแนวคิดความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรกับปรากฏการณ์ที่ศึกษาอย่างมีเนื้อหาสาระ
2.ทฤษฎีทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง:ผู้วิจัยควรได้ทำการศึกษาทฤษฎีหรือแนวคิดที่ใกล้เคียงกับสิ่งที่กำลังศึกษาแม้จะไม่ได้เป็นประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการโดยตรงแต่ก็จะทำให้มองเห็นภาพรวมของความเกี่ยวข้องกันของตัวแปรต่างๆได้ดีมากขึ้น
3.กรอบแนวคิดของผู้วิจัยเองของผู้วิจัยเองที่สั่งเคราะขึ้นเอง:นอกจากการศึกษาผลงานวิจัยและทฤษฎีต่างๆที่เกี่ยวข้องแล้วกรอบแนวคิดยังจะได้รับจากความคิดประสบการณ์การทำงานของผู้วิจัยเองอีกด้วย
วิธีการเขียนการนำเสนอกรอบการวิจัย
1.การเขียนแผนภาพแสดงตัวแปรต่างๆและความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
2.การเขียนแบบจำลองหรือสัญลักษณ์และสมมการ
3.การเขียนบรรยายโดยระบุตัวแปรที่ศึกษาและความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
4.การเขียนแบบผสมผสาน
องค์ประกอบของกลุ่มแนวคิด
6.หลักฐานอ้างอิงที่น่าเชื่อถือและทันสมัย
5.ขอบเขตการวิจัยที่ชัดเจน
4.สามารถอธิบายการวัดและเครื่องมือในการวัดตัวแปรและความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรได้อย่างชัดเจนและน่าเชื่อถือ
3.นิยามของตัวแปรและนิยามความสัมพันธ์ของตัวแปรที่ชัดเจนวัดได้และน่าเชื่อถือ
2.ชุดของตัวแปรและความสัมพันธ์ของตัวแปรที่ชี้ให้เห็นถึงสมมติฐานหรือวิธีการใหม่ที่น่าเชื่อถือ
1.ทฤษฎีและมโนภาพ(concept)ที่เชื่อมโยงและเกี่ยวข้องกับโจทย์วิจัยและวัตถุประสงค์การวิจัย
ต้นทุนเพียงพอ
(เวลา งบประมาณ)
หมายเหตุไม่สามารถเปลี่ยนขนาดของเส้นให้เล็กหรือใหญ่ได้เนื่องจากไม่มีเงินซื้อฟังชั่นเพิ่ม
นางสาว ฟารีซา ยือโระ รหัส 6340310782