Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของการนอนหลับ การพลัดตกหกล้มและการจัดสิ่งแวดล้อม - Coggle…
ความผิดปกติของการนอนหลับ การพลัดตกหกล้มและการจัดสิ่งแวดล้อม
การหกล้มในผู้สูงอายุอันตรายที่เราสามารถป้องกันได้
สาเหตุของการพลัดตกหกล้มที่พบบ่อย
กล้ามเนื้ออ่อนแรงโดยกระทันหันโดยไม่คาดคิด
เวียนศีรษะหน้ามืดโดยไม่คาดคิดจากการใช้ยาเป็นเวลานาน
ญาติปล่อยให้ผู้ป่วยอยู่เพียงลำพัง
ไม่เลือกขอความช่วยเหลือเมื่อลึกออกจากเตียง
ลื่นล้มบนพื้นที่เปียกน้ำ
คนที่ตามมาของการหกล้ม
กระดูกแตกหัก
พิการอย่างถาวร
เสียชีวิต
สถานที่ที่มักเกิดการพลัดตกหกล้ม
ห้องน้ำ
ขณะขึ้นลงจากเตียง
ขณะเดินบนอาคาร
อาการที่มีความเสี่ยงสูงต่อการพลัดตกหกล้ม
เดินลำบาก
ใช้ยานอนหลับ
มีประวัติการหกล้ม
มองเห็นไม่ชัด
มีอายุ 75 ปีขึ้นไป
ผลกระทบของการหกล้มผลกระทบด้านร่างกายอาจจำแนกความรุนแรงเป็น 5 ระดับ
ไม่มีการบาดเจ็บ
บาดเจ็บเล็กน้อย
บาดเจ็บปานกลาง
บาดเจ็บมาก
เสียชีวิต
ผลกระทบของการหกล้มผลกระทบด้านจิตใจ
กลัวการหกล้ม
ผู้สูงอายุที่หกล้มมักสูญเสียความมั่นใจในการทำกิจกรรมต่างๆ
ผลกระทบของการหกล้มผลกระทบด้านเศรษฐกิจ
การสูญเสียเวลาในการทำงานของญาติผู้ดูแลและการดูแลในระยะยาวเมื่อเกิดความพิการและสถานบริการต้องสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาผู้สูงอายุ
ปัจจัยที่เป็นสาเหตุของการหกล้มในผู้สูงอายุ
ปัจจัยภายในร่างกาย
ปัจจัยภายนอกร่างกาย
การป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
การให้ความรู้
การจัดสิ่งแวดล้อม
การให้เงินรางวัล
การใช้กฎหมาย
การจัดการในภาวะฉุกเฉิน
หลักการป้องกันในการหกล้มในผู้สูงอายุ
การประเมินภาวะเสี่ยงต่อการหกล้ม
การให้ความรู้เพื่อสร้างความตระหนักความเสี่ยงต่อการหกล้มและปรับพฤติกรรมเสี่ยง
การออกกำลังกาย
การจัดสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัย
การป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุในโรงพยาบาล
การประเมินภาวะเสี่ยงต่อการหกล้ม
การประเมินผู้สูงอายุที่หกล้มแล้ว
การประเมินสิ่งแวดล้อมและการประเมินความรู้ของผู้สูงอายุเกี่ยวกับการหกล้ม
ความตั้งใจที่จะปรับพฤติกรรมเสี่ยง
การป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุที่อยู่ที่บ้าน
ประเมินภาวะเสี่ยงต่อการหกล้ม
การให้ความรู้เพื่อสร้างความตระหนักความเสี่ยงต่อการหกล้ม
การออกกำลังกาย
การจัดสภาพแวดล้อมและดูแลสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัย
อาการนอนไม่หลับในผู้สูงอายุ
การเปลี่ยนแปลงของร่างกายทำให้หลับตื้น
ง่วงไวนอนเร็วตื่นกลางดึก
ความเครียดซึมเศร้า
ปวดข้อปวดกระดูกเป็นตะคริว
ใช้ยาบางชนิดเช่นยาคัดจมูกยาขยายหลอดลม
ดื่มชากาแฟมากไป
วิธีการนอนในผู้สูงอายุให้มีคุณภาพ
ตื่นนอนเป็นเวลา
รับประทานอาหารให้พอดี
งดดูโทรทัศน์ก่อนเข้านอนอย่างน้อย 30 นาที
ออกกำลังกายเป็นประจำทุกวันในช่วงเช้าและบ่าย
งดสูบบุหรี่รถแอลกอฮอล์
ผู้สูงอายุได้รับการดูแลให้มีการพักผ่อนนอนหลับอย่างเต็มที่โดยปฏิบัติดังนี้
1 จัดสิ่งแวดล้อมให้สงบเงียบสบายรวมทั้งจัดอุปกรณ์การนอนหลับอย่างเหมาะสม
2 ทำจิตใจให้สบายก่อนเข้านอนด้วยการสวดมนต์ทำจิตใจให้สงบปราศจากกังวลจะทำให้นอนหลับสบายไม่ฝันร้าย
3 งดเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของคาเฟอีนเช่นชากาแฟซึ่งจะกระตุ้นสมองทำให้นอนไม่หลับ
4 รับประทานอาหารที่ให้แคลอรี่อย่างเพียงพอแก่ร่างกายจะช่วยให้หลับได้นานอาหารโปรตีน
5 เครื่องดื่มอุ่นๆหรือน้ำผลไม้ก่อนเข้านอนอย่างน้อย 2 ชั่วโมง
6 อาบน้ำอุ่น
7 ฝึกหัดการขับปัสสาวะในเวลากลางวันและก่อนนอนเพื่อไม่ให้ถ่ายปัสสาวะบ่อยในตอนกลางคืน