Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ, ์,…
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวคิด/หลักการสำคัญ
ซอฟต์แวร์ (Software) เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึ้นตามจุดประสงค์
ของการใช้งาน เช่น ควบคุมการท างานของฮาร์ดแวร
ซอฟต์แวร์ระบบ (System software) เป็ นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ควบคุม
การทำงานของฮาร์ดแวร์ มีชื่อเรียกว่า ระบบรับส่งของพื้นนฐาน (BasicInput Output
System: BIOS) หรือไบออส ซอฟต์แวร์นี้ บันทึกในชิปชนิดซีมอส เรียว่า เฟิร์มแวร์
(Firmware) ใช้สำหรับตั้งค่าการท างานของฮาร์ดแวร์ต่าง ๆ ยังคงใช้กันอยู่จนปัจจุบัน
**โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (Operating system) เป็ นโปรแกรมที่จัดการให้คอมพิวเตอร์ติดต่อกับฮารด์แวร์ละโปรแกรมประยุกต์เมื่อเปิดเครื่อง คอมพิวเตอร์จะอ่านโปรแกรมไบออส เรียกว่า การบูต (Boot)
เสร็จแล้วส่งการท างานมาอ่านโปรแกรมระบบปฏิบัติการ
**็ นซอฟต์แวร์ที่ทา หนา้ที่เฉพาะอยา่ ง เพื่อการจดัการงานพ้ืนฐานและบริการต่างๆ เช่น การจัดเรียงข้อมูล (sort) การรวมแฟ้ มข้อมูลที่เรียงล ดับแล้วเข้าด้วยกัน(merge) หรือย้ายข้อมูลจากอุปกรณ์รับหนึ่งไปยังอุปกรณ์หนึ่งรวมท้งัสามารถใช้จัดการกับฮาร์ดแวร์โดยตรง โปรแกรมอรรถประโยชน์ส่วนใหญ่จะถูกรวมอยู่ในระบบปฏิบัติการอยู่แล้ว
โปรแกรมอรรถประโยชน์ส าหรับระบบปฏิบัติการ (OS utility programs
โปรแกรมอรรถประโยชน์อื่นๆ (Standalone utility programs)
**ซอฟต์แวร์ประยุกต์ เป็นซอฟตแ์วรท์ ี่มีผพู้ฒั นาข้ึนมาเพื่อใช้ท างานเฉพาะทางแบ่งเป็นประเภต่าง ๆ ดงัน้ี
ซอฟต์แวร์เชิงพาณิชย์ (Commercial ware)
ฟรีแวร์ (Freeware)
แชร์แวร์ (Shareware)
โอเพนซอร์ส (Open-source)**
ข้อมูล (data) หมายถึง ข้อเท็จจริงที่สื่อความหมายในรูปของข้อความ ตัวเลข สัญลักษณ์ หรือ รายละเอียดอื่น ๆ ที่สัมผัสได้ ข้อมูลเป็นข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
ในช่วงเวลาหนึ่ง
4.บุคลากร ก็มีความสำคัญอย่างมากเช่นกัน เพราะบุคลากรทำหน้าที่ควบคุมระบบคอมพิวเตอร์ เขียนโปรแกม
ข้นัตอนการปฏิบัติงานเป็นภาครปฏิบัติของระบบสาระสนเทศ
**1. รวบรวมข้อมูล เป็ นการน าข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องมาจัดแบ่งเป็ นหมวดหมู่
ประมวลผล เป็ นการน าข้อมูลท้งัหมดที่รวบรวมไวมาตรวจสอบความถูกต้อง
สารสนเทศ เป็ นการน าข้อมูลที่ประมวลผลแลวมาสรุปเป็นผลลพั ิ์ข้นตอน ัการด าเนินการเพื่อให้เกิดสารสนเทศข้ึนมา มีดงัน้ี
**
6.การสื่อสารออนไลน์จะต้องมีเครื่องมือที่สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้โดยการเชื่อมต่ออาจจะใช้เป็นสัญญาณวายฟายหรือสายแลน
ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์และองค์ประกอบต่าง ๆๆ ได้แก่ หน่วยรับเข้า หน่วยประมวลผลกลาง
หน่วยความจ า และหน่วยส่งออก (แสดงผล)
หน่วยแสดงผล
(Output unit)
ท า ห น้ า ที่ แ ส ด ง ผ ล
ข้อมูล
จอภาพ
ล าโพง
เครื่องพิมพ์ (Printer)
โปรเจคเตอร**
หน่วยความจ า
(Memory Unit)
**แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
ห น่ ว ย ค ว า ม จ า ห ลัก
(Main storage) เช่น ROM,
RAM
ห น่ ว ย ค ว า ม จ า ร อ ง
(Secondary storage) เช่น
HDD, Flash Drive**
หน่วยประมวลผลกลาง
(Central Processing Unit: CPU)
ทำาหน้าที่ประมวลผล
ข้อ มู ล ต า ม ชุ ด ค า สั ่ง ที่
ซอฟต์แวร์ส่งมา
เปรียบเสมือนสมองของ
ระบบคอมพิวเตอร์
ท าหน้าที่ควบคุมการท างาน
ของระบบ
ค านวณตามกระบวนการ
ทา ง คณิ ตศ า ส ตร์ และ
เปรียบเทียบ**
หน่วยรับเข้า
(Input unit)
\ทำาหน้าที่รับข้อมูล
เข้าในระบบ
เมาส์
คีย์บอร์ด
ไมโครโฟน
กล้องเว็บแคม
สแกนเนอร์
เครอื่ งอ่านลายน้ิวมือ
เครื่องสแกนใบหน้า**
มัลแวร์ (Malware) ย่อมาจาก Malicious Software หมายถึง โปรแกรมประสงค์
ร้ายต่าง ๆ ที่เข้ามาโจมตีระบบท าให้เกิดความเสียหาย รวมไปถึงการโจรกรรมข้อมูล
มัลแวร์แบ่งเป็ นหลายประเภท เช่น ไวรัส (Virus) เวิร์มหรือหนอน (Worm) ม้าโทรจัน
(Trojan Horse) และโปรแกรมแอบดักจับข้อมูล (Spyware) ต่าง ๆ ซึ่งอาจเป็ นการขโมย
รหัสบัญชีินาคารออนไลน์ด้วยโปรแกรมล็อกแป้ นบนเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้งาน
(Key Logger) นอกจากน้ี
ยงัมีโปรแกรมแอดแวร์ (Adware: Advertising supported software)
เป็ นโปรแกรมที่สนับสนุนการโฆณณา โดยมักพบจากการดาวน์โหลดโปรแกรมฟรีบน
อินเทอร์เน็ต
1. Adware คา น้ีอาจจะเคยไดย้นิ บ่อยๆ Adware เป็ นมัลแวร์ประเภทหนึ่งที่เมื่อติดต้งัแล้ว มักจะมีโฆณณาอยูใ่ นตวัโปรแกรมเลยหรอืบางคร้งัก็เรยีกเปิดหนา้เว็บเพื่อป๊อปอัพข้ึนมาโดยอัตโนมัติ (ไม่ต้องคลิก) ส่วนใหญโ่ ปรแกรมเหล่าน้ีจะฟร!! ( ี และแถมโฆณณาด้วย)
2. Bot คือซอฟตแวรทสรา้งข้นมาเพื่อทา งานใดงานหนงแบบอตัโนมตัิเราอาจจะเคยได้ยินในชื่อ Bot เกม ที่ท าการเล่นเกมให้แบบอัตโนมัติ แต่ส าหรับ Bot ที่เป็ นมัลแวร์ก็จะถูกเรียกชื่อในแต่ละกรณีที่ต่างกันไป เช่น Botnets (เครื่องที่ถูกแฮกเกอร์ควบคุม ) ใช้มาเพื่อ
การโจมตีแบบ DDoS หรือ Spambot เพื่อใช้ส าหรับการส่ง SPAM เป็ นต้น
3. Bug ค าคุ้นหูของโปรแกรมเมอร์ ที่เกิดมาจากความผิดพลาดของโปรแกรมเมอร์
หรือแม้กระทั ่งความผิดพลาดของผู้ใช้งานระบบ จนเป็ นช่องโหว่ให้แฮกเกอร์เข้าไปโจมตีระบบได
4. Ransomware มัลแวร์มาแรงชื่อคุ้นหูแห่งปี สร้างความเสียหาในหลากหลายวงการ มลัแวรป์ระเภทน้ีจะทา การเขา้รหสัไฟลใ์
หไ้ม่สามารถเปิดใชง้านได้ซงถา้ตองการให้ ้สามารถใชง้านไดอ้ีกคร้งัจา เป็นตอ้งจา่ ยเงินค่าไถ่ใหก้บัเหล่าแฮกเกอรเพื่อถอดรหสัไฟลเหล่าน้ัน
5. Rootkit เป็ นมัลแวร์ที่สามารถควบคุมเครื่อง หรือ เข้าใช้เครื่องที่ถูกติดต้งัได้
จากระยะไกล และมีคุณสมบัติเด่นในด้านการหลบซ่อน ท าให้จะท าการลบ หรือ ตรวจจับ
เป็ นไปได้ยาก
6. Spyware ชื่อฟ้ องไว้อย่างชัดเจนว่าเป็ นสายลับ ซึ่งจะท าการเก็บข้อมูลการใช้งาน
ต่างๆ ของเครอื่ งที่ถูกติดต้งั แลว้ส่งไปยงัแฮกเกอรที่คน้ หูที่สดกคงเป็นโปรแกรม Keyloggerเป็นมัลแวร์ที่เก็บทุกแป้ นที่พิมพ์ที่ผู้ใช้พิมพ์ (ส่วนใหญ่ Capture หน้าจอไปพร้อมๆกันด้วย)
โดยไม่รู้ตัว
7. Trojan Horse ม้าเมืองทรอย เป็ นมัลแวร์ที่ท าตัวเหมือนโปรแกรมปกติ เช่น
โปรแกรมแปลง MP3 โปรแกรมโหลดรูปอัตโนมัติจาก Instagram เพื่อหลอกให้ดาวน์โหลดมา
ใช้งาน แต่หลงัจากที่ติดต้งัแลว้กลบัเปิดช่องโหว่ใหแ้ ฮกเกอรเขา้ควมคมหรอืขโมยข้อมูลจาก
เครอื่งที่ติดต้งัได้
8. Virus คือมัลแวร์ประเภทหนึ่งที่สามารถคัดลอกตัวเองกระจายไปยังเครื่องอื่นๆ
โดยผ่าน ไฟล์ประเภทต่างๆ เช่น Script file , Document File เป็ นต้น เมื่อติดไวรัสแล้วจะส่งผล
หลายอย่างเช่น อาจจะถูกขโมยข้อมูลทาเครื่องที่โดนไวรัสช้า หรือ หยุดท างานตลอดเวลา
9. Worm หรือหนอนคอมพิวเตอร์ เป็ นมัลแวร์ที่พบเจอได้ง่ายที่สุด ด้วยวิิีการ
แพร่กระจายผ่านระบบเน็ตเวิรค์ หรือ อินเทอร์เน็ต ผ่านทางช่องโหว่ของระบบปฎิบัติการ
เพื่อเข้าสร้างความเสียหาย ลบไฟล์ สร้างไฟล์ หรือขโมยข้อมูล โดยส่วนใหญ่หนอนคอมพิวเตอร์
จะแพร่กระจายผ่านการส่งอีเมลที่แนบไฟล์ที่มีหนอนคอมพิวเตอร์อยู่ไปยังชื่อผู้ติดต่อของเครื่อง
ที่โดนติดต้ง
ข้อมูล (Data) เป็ นข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ที่เกิดข้ึ
นในช่วงเวลาหนึ่งที่อยู่
ในรูปของข้อความ ตัวเลขสัญลักณณ์ หรือรายละเอียดอื่น ๆ ที่สัมผัสได้ เช่น ภาพ
เสียง ภาพยนตร์ วีดิทัศน์
1. ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary data) คือ ข้อมูลที่รวบรวมจากแหล่งข้อมูลโดยตรง เช่น
ข้อมูลจากการจดบันทึก จากการส ารวจ การสอบถาม จากการอ่านรหัสแท่งของเครื่องเก็บเงิน
จากการประสบพบเห็นด้วยตนเอง การทดสอบ การวัด
2. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary data) คือ ข้อมูลที่มีผู้รวบรวมไว้ก่อนหน้าแล้ว เช่นสถิติจากหน่วยงานตา่ ง ๆ ท้งัภาครฐัและเอกชน สามารถนา ไปใชไ้ดทนัทโดยไม่ตองเสียเวลารวบรวม อาจเป็ นข้อมูลจากการถามคนอื่น หรือข้อมูลจากเอกสาร
เทคโนโลยีการสื่อสาร
การสื่อสารทางคอมพิวเตอร์และสมาร์ตโฟน เช่น การพูดคุยออนไลน์
การส่งภาพ ส่งข้อมูลต่าง ๆ ตลอดจนส่งอีเมล จะต้องใช้เครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อ
ถึงกัน เช่น คอมพิวเตอร์ สมาร์ตโฟน แท็บเล็ต สามารถใช้บริการวายฟาย (WiFi)
บริเวณที่มีสัญญาณวายฟายเรียกว่า ฮอตสปอร์ต (Hotspot) ซึ่งนอกจากสัญญาณ
วายฟายแล้วยังสามารถเชื่อมต่อผ่านระบบสายน าสัญญาณเรียกว่า สายแลน (LAN:
Local Area Network) สมาร์ตโฟนที่ใช้บริการ 3G 4G 5G และ 6G สามารถเชื่อมต่อ
กับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตได้โดยไม่ต้องใช้สัญญาณวายฟาย
์
เสร็จแล้วส่งการท างานมาอ่านโปรแกรมระบบปฏิบัติการ