Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
14 การจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร - Coggle Diagram
14
การจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมาย และความสำคัญของความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร:มาจาก ข้อมูล สารสนเทศ
ที่ผ่านกระบวนการคิด เปรียบเทียบ เชื่อมโยง กับความรู้อื่น และบูรณาการกับความรู้และประสบการณ์เดิมเกิดการประสมประสานระหว่างสถานการณ์ ค่านิยม ความรู้ในบริบทและความรู้แจ้ง จนเกิดเป็นความเข้าใจ
เชื่อถือได้ และพัฒนาไปสู่ระดับที่สูงขึ้น
ความรู้เป็นสิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การ
ค้นคว้า หรือประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะ
ความสำคัญ
ช่วยแก้ปัญหาหรือขจัดความสงสัย
สามารถพัฒนาตนเองให้ดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมี
ความสุข
ช่วยสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันได้อย่างยั่งยืน
ลักษณะและประเภทของความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ลักษณะ
ความรู้ชุมชน
ความรู้ที่เกิดจากการศึกษาค้นคว้าวิจัย
ประเภทของความรู้
ความรู้ชัดแจ้ง หรือความรู้ที่ปรากฏ
ความรู้ฝังลึก หรือความรู้แฝงเร้น
ความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความรู้ที่เป็นภูมิปัญญาดั้งเดิม หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น
ความรู้ที่ถูกสร้างขึ้นมาใหม
การแสวงหา การถ่ายโอนและการถ่ายทอดความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนา
การเกษตร
การแสวงหาความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมาย:การค้นหาให้พบหรือให้ได้ความรู้ ข้อมูล สารสนเทศ ที่ต้องการ และทำให้ความรู้นั้นเข้ามาอยู่ในตัวมนุษย์ โดยใช้อวัยวะ
สัมผัสต่าง ๆ ทำให้เกิดการรับรู้สิ่งต่าง ๆ ภายนอกตัวมนุษย
วัตถุประสงค์
เพื่อนนำความรู้มาใช้ประโยชน์ ส่วนตัวหรือผู้อื่น
เพื่อสนองความอยากรู้อยากเห็น
วิธีการแสวงหาความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การนำภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีอยู่ในชุมชนมาปรับใช้ให้ตอบสนองกลุ่มเป้าหมาย
การต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น
การแสวงหาความรู้ใหม
การพัฒนาความรู้ขึ้นใหม
การถ่ายโอน และการถ่ายทอดความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การถ่ายโอน
การถ่ายโอนความรู้จากบุคคลสู่บุคคล
การถ่ายโอนความรู้จากบุคคลสู่กลุ่ม
การถ่ายโอนความรู้จากกลุ่มสู่กลุ่ม
การถ่ายทอดความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรซ เช่นการอภิปราย การฝึกอบรม การฝึกสอน
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ความหมาย หลักการและองค์ประกอบในการจัดการความรู้ในการส่งเสริมและ
พัฒนาการเกษตร
ความหมายของการ
จัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรหมายถึง การจัดการโดยการรวบรวมสร้าง
จัดระเบียบ แลกเปลี่ยน และประยุกต์ใช้เพื่อให้ได้ประโยชน์จากความรู้ด้านต่าง ๆที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา
เกษตรกร
เป้าหมาย
เพื่อพัฒนาการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
เพื่อพัฒนาคน
เพื่อพัฒนา“ฐานความรู้” ของการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
เพื่อพัฒนาความเป็นชุมชน
หลักการ
การทำงานร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ของสมาชิกที่หลากหลายทักษะ และหลากหลายวิธีคิด
ร่วมกันพัฒนาวิธีทำงานเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรในรูปแบบใหม่ ๆ
การดำเนินการแบบบูรณาการ เชิงเนื้อหา เชิงวิธีการ
ทดลองและเรียนรู้
การผลิตที่ใช้ภูมิปัญญาบนฐานทรัพยากรที่มีในท้องถิ่น
นำเข้าความรู้จากภายนอกมาปรับใช้อย่างเหมาะสมและให้สอดคล้องกับระบบเดิมที่มีอยู่
การเรียนรู้เพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
องค์ประกอบ
คน เกษตรกรเป้าหมาย นักส่งเสริมในพื้นที บุคคลที่ส่งเสริมให้เกิดเป้าหมาย
กระบวนการความรู้ จัดหา แบ่งปัน ใช้
เทคโนโลยี
การสร้างและการยกระดับความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การสร้างและยกระดับความรู้
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่นำไปสู่การขัดเกลาทางสังคม (Socialization: S)
การสกัดความรู้ออกจากตัวคน (Externalization: E)
การผนวกความรู้ชัดแจ้งเข้าด้วยกัน (Combination: C)
การฝังหรือผนึกความรู้ในตน (Internalization: I)
ขั้นตอน
ข้อมูล
สารสนเทศ
ความรู้
กระบวนการและวิธีการจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
กระบวนการจัดการความรู้
การจัดหาความรู้จากแหล่งความรู้ต่าง ๆ
การแบ่งปันความรู้
การใช้หรือเผยแพร่ความรู้
วิธีการในการจัดการความรู้
การทำฐานข้อมูล (Knowledge Bases)
การใช้เทคนิคการเล่าเรื่อง (Story Telling)
การทบทวนหลังการปฏิบัติงาน (After Action Reviews: AAR)
ระบบพี่เลี้ยง (MentoringSystem)
การประชุมระดมสมอง (Brainstorming)
ชุมชนนักปฏิบัติ(Communities of Practice: CoP)
การใช้การจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
กรณีศึกษาการจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรระดับองค์กร
การเรียนรู้ทางไกลของเกษตรกรด้านอาหารปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์
ที่มา ทุนสนับสนุนจากสำนักงานสร้างเสริมสุขภาพ ผลที่ได้รับจากการอบรมดังกล่าว
ยังไม่นำไปสู่การปรับพฤติกรรมและการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมเท่าที่ควรจึงมีการพัฒนาต้นแบบหลักสูตร ห้ผู้เรียนรู้มีโอกาส
เรียนรู้ด้วยตนเองได้อย่างต่อเนื่องในระบบการศึกษาทางไกล
วัตถุประสงค์
เพื่อพัฒนาต้นแบบหลักสูตรการเรียนรู้ทางไกล
เพื่อสร้างชุดความรู้และคลังความรู้ต้นแบบ
เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ด้านการผลิต การบริโภค และการจำหน่าย
เพื่อส่งเสริมและสร้างเครือข่ายภาคีอื่น ๆ ในการขยายผลการเรียนรู้สู่กลุ่มเกษตรกร
พื่อพัฒนากลุ่มต้นแบบในการจัดการเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์
เพื่อพัฒนากลไกในการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านระบบเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์
กระบวนการ
ขั้นตอนที่1การกำหนดความรู้หรือการบ่งชี้ความรู้
ขั้นตอนที่2 การสร้างและแสวงหาความรู้
ั้นตอนที่ 3 การจัดองค์ความรู้ให้เป็นระบบ
ขั้นตอนที่ 4 การเรียนรู้และเพื่อให้มีการนำความรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน
หลักการ
ใช้ชุดสื่อวีดิทัศน์
เน้นการเรียนรู้จากการลงมือประพฤติปฏิบัติ
เน้นการเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่มของคนที่อาศัยในบริเวณใกล้กันโดยใช้พื้นที่เป็นตัวตั้ง
ผล
เกษตรนำความรู้ไปปฏิบัติ
เกษตรกรสามารถวางแผนชีวิตของตัวเองได
กลุ่ม องค์กรและชุมชนเกิดสัมพันธ์ภาพที่ดีในที่ได้มาเรียนรู้และปฏิบัติกิจกรรมร่วมกัน
เกิดการขยายผลการจัดการเรียนรู้
ทำ ให้เกิดการบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานภ
เป็นการยกระดับการเรียนรู้ให้ก้าวหน้าและการมีกิจกรรมที่หลากหลายในการปฏิบัติที่เชื่อมโยงกัน
ปัจจัยเกื้อหนุน
ปัจจัยด้านความรู้
ปัจจัยด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้
ปัจจัยด้านหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้
กรณีศึกษาการจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรระดับชุมชน
การจัดการความรู้ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
เกษตรอินทรีย์ทุ่งทองยั่งยืน
บริบทของกลุ่ม
วัตถุประสงค์
การกำหนดเป้าหมาย
การดำเนินการ
การจัดการความรู้ของศูนย์
ปัจจัยเกื้อหนุน ด้านความรู้ กระบวนการการเรียนรู้ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องและแนวทางการจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการ
เกษตร
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
เป้าหมายความรู้
ลักษณะความรู้
ฐานความรู้
แหล่งความรู้ที่สามารถเข้าถึงถ่ายทอด และแลกเปลี่ยนได้สะดวก
สมาชิกในกลุ่มและสมาชิกชุมชน
ผู้นำกลุ่มและผู้นำชุมชน
นักส่งเสริม
เทคโนโลยีและกระบวนการจัดการความรู้
บรรยากาศและวัฒนธรรมการทำงานของกลุ่มและชุมชน
การมีเครือข่าย ภาคีและชุมทางในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่หลากหลาย
การสนับสนุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลการจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวทางในการจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
1.ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มและชุมชน 2.การจัดการความรู้ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรควรจัดการอยู่บนฐานทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่น
7.การจัดกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 8.การจัดการความรู้อย่างบูรณาการ
9.เน้นใช้วิธีการจัดการความรู้จากการได้ปฏิบัติจริง 10.จัดทำระบบฐานข้อมูลให้เอื้อต่อการเก็บและการนำมาใช้ประโยชน
3.การค้นหาความรู้4.การขยายผลและการต่อยอดความรู้
11.การมีผู้กระตุ้นหรือประสาน 12.กระตุ้นให้มีการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ในกลุ่มสมาชิก และเครือข่ายกับภายนอก
13.ใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเป็นตัวขับเคลื่อนกระบวนการจัดการความรู้
ในการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
5.การปรับวิธีการและเนื้อหาสาระที่จะทำการถ่ายทอด 6.ปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการทำงานในกลุ่มและชุมชน
การจัดการความรู้ที่สอดแทรกไปกับการทำงานปกติ